National Academies Press: OpenBook
« Previous: 1 Key Concepts
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 11
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 12
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 13
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 14
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 15
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 16
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 17
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 18
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 19
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 20
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 21
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 22
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 23
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 24
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 25
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 26
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 27
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 28
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 29
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 30
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 31
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 32
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 33
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 34
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 35
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 36
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 37
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 38
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 39
Suggested Citation:"2 Animal Care and Use Program." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 40

Below is the uncorrected machine-read text of this chapter, intended to provide our own search engines and external engines with highly rich, chapter-representative searchable text of each book. Because it is UNCORRECTED material, please consider the following text as a useful but insufficient proxy for the authoritative book pages.

2 โปรแกรมการดูแล และ การใช้สัตว์ Animal Care and Use Program ก ารดูแลและการใช้สัตว์ทดลองต่างๆอย่างถูกต้องในการวิจัย การทดสอบ การสอนและการผลิต (การใช้สตว์) ต้องการการตัดสินใจทางวิทยาศาสตร์และโดยผูเชียวชาญบนพืนฐานความจำ�เป็นต่างๆ ั ที่ สั ต ว์ ต้ อ งการและการใช้ สั ต ว์ นั้ น ตามที่ ตั้ ง ใจ โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ (หลังจากนี้ เรียกว่า โปรแกรม) ประกอบด้วยกิจกรรมทั้งหมดที่ถูกบริหารหรือ ้ ่ ้ อยู่ที่สถาบันซึ่งมีผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ ได้แก่ การดูแลสัตว์และการดูแลทางการสัตวแพทย์ นโยบาย และวิธีดำ�เนินการ การจัดการบุคลากรและการควบคุม ดูแลโปรแกรม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ภารกิจ ของคณะกรรมการการดูแลและการใช้สัตว์ของสถาบัน (IACUC) และการออกแบบและการจัดการสถานที่ บทนี้กำ�หนดโปรแกรมทั้งหมดและแก่นสารความรับผิดชอบการกำ�กับดูแล และให้บรรทัดฐานต่างๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาโปรแกรมที่เกิดผล บทที่ 3, 4 และ 5 รวบรวมรายละเอียดต่างๆขององค์ประกอบ โปรแกรม สภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยและการจัดการ การดูแลทางการสัตวแพทย์และกายภาพของสถานที่ ตามลำ�ดับ สถาบันแต่ละแห่งควรจัดตั้งและจัดให้มีทรัพยากรต่างๆอย่างพอเพียงสำ�หรับโปรแกรม ที่มีการ จัดการสอดคล้องตามข้อแนะนำ� และ ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ นโยบายและบรรทัดฐานต่างๆ 11

12 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง กฎข้อบังคับ นโยบาย และ หลักเกณฑ์ต่างๆ การใช้สัตว์ทดลองได้รับการควบคุมโดยระบบที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และมีการขับเคลื่อนไป ด้วยกฎข้อบังคับ นโยบาย บรรทัดฐานและวิธีการปฏิบัติต่างๆ ข้อแนะนำ� คำ�นึงถึงการพิจารณาการปฏิบัติ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมหลายอย่างบนพื้นฐานในประเทศสหรัฐฯ ได้แก่ กฎข้อบังคับสวัสดิภาพ สัตว์ (USDA 1985; US Code 42 USC § 289d) และนโยบายสำ�นักบริการสาธารณสุขเรื่องการดูแลและการ ใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรม (PHS 2002) การใช้ข้อแนะนำ�นอกประเทศสหรัฐฯ ทั้งหมดอนุมานว่ายึดมั่นต่อ กฎข้อบังคับทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและการใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรมเหมาะสมกับประเทศเหล่านั้น ข้อแนะนำ�ยังยอมรับหลักเกณฑ์ของรัฐบาลสหรัฐฯ สำ�หรับการใช้และการดูแลสัตว์มีกระดูกสันหลังเพื่อการ ทดสอบ การวิจัยและการฝึกอบรม (IRAC 1985; ดูภาคผนวก ข.) และรับรองหลักเกณฑ์ต่างๆ ดังต่อไปนี้ การคำ�นึงถึงสิ่งทดแทนต่างๆ (ระบบที่ทำ�เทียมขึ้น การเลียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ และ/หรือ แบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์) เพื่อลดหรือแทนที่การใช้สัตว์ การออกแบบและสมรรถภาพของวิธีการดำ�เนินการบนพื้นฐานของความสัมพันธ์ต่อสุขภาพ มนุษย์หรือสัตว์ ความก้าวหน้าขององค์ความรู้หรือความดีงามของสังคม การเลือกใช้ชนิดสัตว์ คุณภาพ และจำ�นวนสัตว์อย่างเหมาะสม การหลีกเลี่ยงหรือลด ความไม่สบายกาย ความทุกข์ทรมานและความเจ็บปวด การใช้การระงับประสาท การระงับปวด หรือการทำ�ให้สลบอย่างเหมาะสม การกำ�หนดจุดสิ้นสุดการทดลองอย่างมีมนุษยธรรม การให้มีการดูแลทางการสัตวแพทย์อย่างพอเพียง การให้มีการขนส่งสัตว์และการสัตวบาลเหมาะสมและกระทำ�โดยบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสม การปฏิบัติการทดลองต่อสัตว์มีชีวิตซึ่งกีดกันให้ทำ� และ/หรือ ภายใต้การบังคับบัญชาอย่างใกล้ชิด ของบุคคลากรผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีประสบการณ์ การตีความหมายของหลักเกณฑ์เหล่านีและข้อแนะนำ� และการนำ�ไปปฏิบตตองมีความรู้ ความชำ�นาญ ้ ั ิ ้ ประสบการณ์ และการตัดสินใจโดยผู้เชี่ยวชาญ ควรดำ�เนินการโปรแกรมต่างๆโดยสอดคล้องกับข้อแนะนำ� และกฎข้อบังคับ นโยบายและหลักเกณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง สถาบันต่างๆยังถูกกระตุ้นให้กำ�หนดและทบทวน วิธีดำ�เนินการอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้มั่นใจว่าการนำ�ไปปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอโดยสอดคล้องกับ มาตรฐานต่างๆในข้อแนะนำ� มีข้อมูลเพิ่มเติมในการดูแลและใช้สัตว์ให้อีกหลายด้านอยู่ในสิ่งพิมพ์ต่างๆ ของ สถาบันเพื่อการวิจัยสัตว์ทดลอง (ILAR) และองค์การอื่นๆ (ภาคผนวก ก.) เอกสารอ้างอิงต่างๆ ในข้อแนะนำ� ให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่ผู้อ่านซึ่งสนับสนุนแถลงการณ์ที่มีอยู่ในข้อแนะนำ� ในที่ที่ไม่มีผลงานวารสารที่ได้ตีพิมพ์ ข้อมูลบางอย่างในข้อแนะนำ�ได้มแหล่งทีมาจากมาตรฐานต่างๆทางการปฏิบตในทางวิทยาศาสตร์สตว์ทดลอง ี ่ ั ิ ั (ดู บทที่ 1) เนือหาของวารสารทีเกียวข้องกับสัตวศาสตร์และการใช้สตว์มการก้าวหน้าอย่างสม่�เสมอ ต้องการ ้ ่ ่ ั ี ำ โปรแกรมให้มีข้อมูลทันสมัยและการปฏิบัติที่ดีที่สุดอย่างต่อเนื่อง

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 13 การบริหารโปรแกรม โปรแกรมที่มีประสิทธิภาพต้องมีภารกิจต่างๆที่ระบุอย่างชัดเจนซึ่งจัดลำ�ดับความรับผิดชอบร่วมกัน กับการมอบอำ�นาจอย่างเป็นทางการตามกฎข้อบังคับและการจัดการ กฎหมายของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ กำ�หนด พื้นฐานตามบทบัญญัติส�หรับผู้บริหารสถาบัน (IO) สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ (AV) และคณะกรรมการการดูแล ำ และใช้สตว์ทดลอง (IACUC) ข้อแนะนำ�ทำ�ตามข้อคิดเห็นเหล่านีตามหลักเกณฑ์การดำ�เนินงานทีมความสำ�คัญ ั ้ ่ ี เพื่อโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ทั้งหมดในสหรัฐฯและนอกประเทศ การเป็นผู้นำ�อย่างมีประสิทธิภาพ และการร่วมงานกันกับองค์ประกอบทั้งสามส่วนนี้เป็นความจำ�เป็น ซึ่งไม่เพียงแค่การควบคุมดูแลแต่ยังช่วย สนับสนุนผู้ใช้สัตว์ (Lowman 2008; Van Sluyters 2008) นอกจากนี้การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันกับหน่วยงาน ผู้บังคับตามกฎหมายและผู้ให้ทุนต่างๆ และองค์การผู้ให้การรับรองมาตรฐานเป็นส่วนที่เติมเต็มให้โปรแกรม สมบูรณ์ ดังที่ได้สรุปไว้ที่นี่และได้อภิปรายไว้ตลอดเนื้อหาข้อแนะนำ� ภารกิจแรกด้านการควบคุมดูแลเป็นของ IO AV และ IACUC บทบาทต่างๆของท่านเหล่านี้บรรจุอย่างพอดีอยู่ในโครงสร้างองค์การที่ถูกกำ�หนดขึ้น ที่ซึ่งความสัมพันธ์การรายงานตามสายการบังคับบัญชา การมอบหมายอำ�นาจอย่างเป็นทางการ และ หน้าที่ ความรับผิดชอบต่างๆถูกกำ�หนดขึ้นอย่างชัดเจนและมีความโปร่งใส สิ่งทั้งหมดเหล่านี้ทำ�ให้เกิดนโยบายและ วิธีดำ�เนินการต่างๆ ทำ�ให้มั่นใจว่าปฏิบัติตามกฎหมาย กำ�กับดูแลสมรรถภาพของโปรแกรม และสนับสนุน วิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพสูงและการใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรม โปรแกรมที่มีส่วนประกอบเหล่านี้และตั้งมั่น ให้สงเหล่านีอยูอย่างสมดุลย์มโอกาสอย่างดีทสดในการใช้ทรัพยากรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกัน ิ่ ้ ่ ี ี่ ุ สามารถบรรลุผลมาตรฐานสูงสุดเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์และคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์ (Bayne and Garnett 2008; Van Sluyters 2008) ภาระหน้าที่การจัดการโปรแกรม ผู้บริหารสถาบัน ผู้บริหารสถาบัน (IO) แบกภาระหน้าที่รับผิดชอบโปรแกรมอย่างสูงสุดถึงแม้ว่าการอำ�นวยการโปรแกรมทั่ว ทุกด้านควรเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง IO AV และ IACUC แต่ IO มีอ�นาจอย่างเป็นทางการเพื่อจัดสรร ำ ทรัพยากรต่างๆที่จำ�เป็น เพื่อให้มั่นใจว่ามีความสำ�เร็จของ โปรแกรมทั้ ง หมด ควรสื่ อ สารสิ่ ง จำ � เป็ น ต่ า งๆสำ � หรั บ โปรแกรมอย่างชัดเจนและสม่ำ�เสมอจาก AV IACUC และ ส่วนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรม (เช่น พนักงานผู้จัดการ สถานที่ บุคลากรด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย นักวิทยาศาสตร์)ไปยัง IO ด้วยการเป็นตัวแทนผู้บริหาร อาวุโส IO มีภาระหน้าที่การวางแผนทรัพยากรต่างๆ และ ทำ�ให้มั่นใจว่าเป้าหมายโปรแกรมมีการกำ�หนดตามลำ�ดับอย่างสอดคล้องกับพันธกิจของสถาบัน

14 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ (AV) รับผิดชอบสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ทดลองทั้งหมดที่ถูกใช้ ในสถาบัน สถาบันต้องมอบหมายอำ�นาจเป็นทางการอย่างพอเพียงให้กับ AV ได้แก่ การเข้าถึงสัตว์ทุกตัว และทรัพยากรต่างๆ เพื่อจัดการโปรแกรมการดูแลทางการสัตวแพทย์ AV ควรควบคุมดูแลงานด้านอื่นๆ ของ การดูแลและการใช้สัตว์ (เช่น การสัตวบาล การจัดที่อยู่อาศัยให้สัตว์) เพื่อให้มั่นใจว่าโปรแกรมสอดคล้องตาม ข้อแนะนำ� พันธกิจของสถาบัน เป้าหมายของโปรแกรม ตลอด จนลักษณะการใช้สตว์ทสถาบันและขนาดของโปรแกรมจะ ั ี่ กำ�หนดว่าจำ�เป็นต้องมีการให้บริการต่างๆ โดยสัตวแพทย์ ทำ�งานอย่างเต็มเวลา มาทำ �งานบางเวลา หรือให้คำ � ปรึกษาอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าไม่มีสัตวแพทย์ทำ�งานอย่างเต็มเวลาอยู่ในพื้นที่ ควรต้องมีสัตวแพทย์ผู้ให้คำ� ปรึกษาหรือให้มาทำ�งานบางเวลา ตามช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมต่อความจำ�เป็นของโปรแกรม ในกรณีเหล่า นั้นต้องจัดบุคคลหนึ่งผู้ได้รับมอบหมายความรับผิดชอบต่อการดูแลและการใช้สัตว์ประจำ�วันและการจัดการ สถานที่ ขณะทีสถาบันทีมโปรแกรมการดูแลและการใช้สตว์ขนาดใหญ่อาจจ้างสัตวแพทย์หลายคน การจัดการ ่ ่ ี ั อายุรกรรมด้านสัตวแพทย์ การดูแลสัตว์และการบริหารสถานที่โดยหน่วยบริหารหนึ่งเดียวมักเป็นกลไก ที่มีประสิทธิภาพเพื่อบริหารงานโปรแกรมทั่วทุกๆ ด้าน ข้อแนะนำ�ยอมรับ “บรรทัดฐานสำ�หรับการให้การดูแลทางการสัตวแพทย์อย่างพอเพียง” (ACLAM 1996) ของวิทยาลัยอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกา (ACLAM) บรรทัดฐานเหล่านี้รวมถึงการให้สัตวแพทย์ เข้าถึงสัตว์และเวชระเบียนของสัตว์ทุกตัว การที่สัตวแพทย์มาเยี่ยมอาคารเลี้ยงสัตว์ที่มีสัตว์อยู่หรือเก็บสัตว์ เพื่อใช้อย่างสม่ำ�เสมอ การจัดให้มีการดูแลทางคลินิก เวชกรรมป้องกันและฉุกเฉินโดยสัตวแพทย์อย่าง พอเพียงและมีความชำ�นาญ และมีระบบหนึ่งเพื่อการจัดหาและขนส่งสัตว์อย่างถูกกฎหมาย มีการแจกแจง ภาระหน้าที่อื่นๆ ของสัตวแพทย์ไว้ในตอนถัดมาข้างล่างและในบทอื่นๆ ต่อมา เพื่อให้โปรแกรมทำ�งานอย่าง ได้ผลควรมีการสื่อสารอย่างชัดเจนและสม่ำ�เสมอระหว่าง AV และ IACUC คณะกรรมการการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง IACUC (หรือคณะกรรมการอื่นของสถาบันที่มีความเท่าเทียมกัน) มีภาระหน้าที่เพื่อการประเมิน และการควบคุมดูแลส่วนประกอบและสถานที่ต่างๆ ของโปรแกรม IACUC ควรมีอำ�นาจที่ได้รับมอบหมาย อย่างเป็นทางการและทรัพยากรต่างๆอย่างพอเพียง (เช่น เจ้าหน้าที่ การฝึกอบรม คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ อื่นที่เกี่ยวข้อง) เพื่อทำ�หน้าที่เต็มตามภาระความรับผิดชอบ รายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของ IACUC ได้ถูกกล่าวไว้ภายหลังในบทนี้ การทำ�งานร่วมมือกัน การร่วมมือกันระหว่างสถาบันมีแนวโน้มให้เกิดภาวะคลุมเครือในภาระหน้าที่เพื่อการดูแลและการใช้

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 15 สัตว์ ในกรณีต่างๆ ที่การร่วมมือกันดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์ (นอกจากการขนส่งสัตว์) สถาบันที่มีส่วน เกียวข้องควรมีบนทึกความเข้าใจเขียนอย่างเป็นทางการ (เช่น สัญญา บันทึกความเข้าใจหรือ ข้อตกลง) ทีระบุ ่ ั ่ ภาระหน้าที่สำ�หรับการดูแลและการใช้สัตว์นอกพื้นที่ ความเป็นเจ้าของสัตว์และการทบทวนและการควบคุม โดย IACUC (AAALAC 2003) นอกจากนี้ IACUC จากหลายๆสถาบันที่เกี่ยวข้องอาจเลือกทบทวนโปรโตคอล ต่างๆ สำ�หรับงานที่ก�ลังทำ� ำ การบริหารบุคลากร การฝึกอบรมและให้การศึกษา บุคลากรทั้งหมดผู้เกี่ยวข้องในการดูแลและการใช้สัตว์ต้องมีการศึกษา การฝึกอบรมอย่างเพียงพอ และ/หรือมีคุณสมบัติเหมาะสมในหลักเกณฑ์พื้นฐานวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองต่างๆ เพื่อช่วยให้แน่ใจว่า วิทยาศาสตร์มีคุณภาพสูงและสัตว์มีความเป็นอยู่ที่ดี จำ�นวนและคุณวุฒิของบุคลากรที่ต้องมีเพื่อปฏิบัติและ สนับสนุนโปรแกรมหนึ่งๆ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ชนิดและขนาดของสถาบัน โครงสร้างการบริหาร งานเพื่อให้การดูแลสัตว์อย่างพอเพียง คุณสมบัติของกายภาพของสถานที่ จำ�นวนและชนิดสัตว์ที่มี ลักษณะ ของกิจกรรมงานวิจย การทดสอบ การสอนและการผลิต สถาบันมีภาระหน้าทีเพือให้มทรัพยากรอย่างเหมาะ ั ่ ่ ี สมเพื่อสนับสนุนการฝึกอบรมของบุคลากร (Anderson 2007) และ IACUC มีภาระหน้าที่ให้การควบคุมดูแล และการประเมินความมีประสิทธิภาพของการฝึกอบรม (Foshay and Tinkey 2007) ควรทำ�บันทึกโปรแกรม การฝึกอบรมบุคลากรทั้งหมด สัตวแพทย์และบุคลากรผู้เชี่ยวชาญอื่นๆ สัตวแพทย์ผู้ให้การดูแลทางคลินิก และ/หรือ การควบคุมและการ สนับสนุนโปรแกรม ต้องมีประสบการณ์การฝึกฝนอบรมและความเชียวชาญตามความจำ�เป็นเพือการประเมิน ่ ่ สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีอย่างเหมาะสมของสัตว์ชนิดที่ถูกใช้ในสภาวะการใช้สัตว์ที่สถาบัน สัตวแพทย์ ผูบริหารโปรแกรมอย่างกว้างขวางควรได้รบการฝึกอบรม หรือมีประสบการณ์ทเกียวข้องในการบริหารและการ ้ ั ี่ ่ จัดการสถานทีส�หรับสัตว์ทดลอง อาจจำ�เป็นต้องมีผช�นาญเฉพาะทางต่างๆ ผูมความเชียวชาญในด้านอืนๆ ่ ำ ู้ ำ ้ ี ่ ่ โดยขึ้นกับขอบเขตของโปรแกรม ตัวอย่างเช่น การออกแบบและการปรับปรุงสถานที่ การจัดการบุคลากร พยาธิวทยาสัตว์ทดลอง พันธุศาสตร์เปรียบเทียบ การดูแลรักษาสถานทีและอุปกรณ์ การดำ�เนินการห้องปฏิบติ ิ ่ ั การวินิจฉัยและการจัดการทางพฤติกรรม วิทยาศาสตร์และอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและมีผลต่อระเบียบปฏิบัติต่างๆ สถาบันควรให้โอกาสและสนับสนุนการพัฒนาความชำ�นาญ เฉพาะทางและการศึกษาต่อเนื่องเพื่อให้แน่ใจว่าทั้งบุคลากรผู้ชำ�นาญเฉพาะทางมีความรู้เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ และวิธีดำ�เนินการที่ทันสมัย และสัตว์ทดลองได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพสูง (Colby et al. 2007)

16 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง บุคลากรผู้เลี้ยงสัตว์ บุคลากรผู้เลี้ยงสัตว์ควรได้รับการฝึกอบรมอย่างเหมาะสม (ดูภาคผนวก ก. การให้ การศึกษา) และสถาบันควรให้การฝึกอบรมอย่างเป็นทางการ และ/หรือการอบรมในขณะปฏิบัติงานเพื่อเอื้อ ให้การดำ�เนินงานโครงการ และการดูแลและการใช้สัตว์มีมนุษยธรรมอย่างมีผลสำ�เร็จ บุคลากรควรได้รับการ ฝึกอบรมและ/หรือ มีประสบการณ์เพื่อทำ�งานให้สมบูรณ์ตามที่ได้รับมอบให้รับผิดชอบ อาจต้องมีบุคลากร ที่มีความชำ�นาญในหลายๆ ด้าน (ได้แก่ การสัตวบาล การบริหารสำ�นักงาน เทคนิคทางสัตวแพทย์ และอายุรศาสตร์) โดยสอดคล้องกับขอบเขตโปรแกรม มีการฝึกอบรมบุคลากรผู้ดูแลสัตว์และผู้ช่วยทางเทคนิคอื่นๆอีกหลายวิธี (Pritt and Duffee 2007) วิทยาลัยหลายแห่งมีหลักสูตรเทคนิคการสัตวแพทย์ (AVMA 2010) ส่วนใหญ่เป็นหลักสูตรสองปีทให้อนุปริญญา ี่ ทางวิทยาศาสตร์ บางแห่งเป็นหลักสูตร 4 ปี ที่ให้ปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร์ มีหลักสูตรการฝึกอบรมที่ไม่ให้ ปริญญา ผ่านหลักสูตรประกาศนียบัตรให้พนักงานเทคนิคและพนักงานผูเชียวชาญด้านสัตว์ทดลองโดยสมาคม ้ ่ วิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกา (AALAS) และมีสิ่งประกอบการฝึกอบรมที่เหมาะสมสำ�หรับการศึกษา ด้วยตนเอง จำ�หน่าย (ภาคผนวก ก.) บุคลากรผู้ดูแลและใช้สัตว์ควรร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องต่างๆอย่างสม่ำ�เสมอและควรถูกกระตุ้น ให้มสวนร่วมในการประชุมระดับท้องถินและระดับชาติของสมาคมวิทยาศาสตร์สตว์ทดลอง และ ขององค์การ ี ่ ่ ั วิชาชีพทีเกียวข้องอืนๆ ควรให้มการอบรมขณะปฏิบตงานทีเสริมด้วยการอภิปรายและหลักสูตรการฝึกอบรม ่ ่ ่ ี ั ิ ่ ต่างๆ ที่สถาบันเป็นผู้อุปถัมภ์ และ มีเอกสารอ้างอิงที่ใช้ได้กับงานและชนิดสัตว์ที่เขาทำ�งาน ให้แก่พนักงาน ที่มีความรับผิดชอบดูแลสัตว์แต่ละคน (Kreger 1995) ผูประสานงานหลักสูตรการฝึกอบรมของสถาบันควรเสาะหาความช่วยเหลือจากศูนย์ขอมูลสวัสดิภาพ ้ ้ สัตว์ (AWIC) การแลกเปลียนสวัสดิภาพสัตว์ทดลองและการฝึกอบรม (LAWTE) AALAS และ ILAR (NRC 1991) ่ ข้อแนะนำ�เพื่อการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง โดยสภาเพื่อการดูแลสัตว์แห่งแคนาดา (CCAC1993) และ บรรทัดฐานของประเทศอื่นๆ เป็นสิ่งเพิ่มเติมที่มีคุณค่าต่อห้องสมุดของนักวิทยาศาสตร์ด้านสัตว์ทดลอง (ภาคผนวก ก.) ทีมนักวิจย สถาบันควรให้การศึกษาและการฝึกอบรมอย่างเหมาะสมแก่สมาชิกของทีมวิจย ได้แก่ นักวิจยหลัก ั ั ั ผอ�นวยการการศกษาวจย (study directors) นกเทคนคการวจย นกศกษาบณฑตวทยาลยทไดรบทนการศกษา ู้ ำ ึ ิั ั ิ ิั ั ึ ั ิ ิ ั ี่ ้ ั ุ ึ หลังจบปริญญาเอก นักศึกษาและนักวิจัยอาคันตุกะ เพื่อให้แน่ใจว่าเขาเหล่านั้นมีความรู้และความชำ�นาญ ที่จำ�เป็นสำ�หรับวิธีการปฏิบัติต่อสัตว์ตามที่เสนอมาและตรงกับชนิดของสัตว์ที่ใช้ (Conarello and Shepard 2007) ควรปรับการฝึกอบรมให้เข้ากับความจำ�เป็นโดยเฉพาะของกลุ่มวิจัย อย่างไรก็ดี กลุ่มวิจัยทั้งหมดควรได้ รบการฝกอบรมเรองกฎหมายเกยวกบการดแลและการใชสตว์ ภาระหนาทของ IACUC จรรยาบรรณการใชสตว์ ั ึ ื่ ี่ ั ู ้ั ้ ี่ ้ั และแนวคิดต่างๆของหลักสามอาร์ วิธีการรายงานเรื่องร้องเรียนต่างๆเกี่ยวกับการใช้สัตว์ เรื่องอาชีวอนามัย และความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการใช้สัตว์ การจับบังคับสัตว์ เทคนิคการทำ�ศัลยกรรมปลอดเชื้อ การวางยาสลบ

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 17 และการระงับปวด การทำ�การุณยฆาตและหัวข้ออื่นๆตามต้องการโดยกฎข้อบังคับ ควรให้โปรแกรมการศึกษา ต่อเนื่องต่างๆเพื่อเสริมการฝึกอบรมและให้ความทันสมัยที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี กฎหมาย และหัวข้ออื่นๆที่เกี่ยวข้อง ความถี่ของโอกาสการอบรมควรให้แน่ใจว่ามีการฝึกอบรมก่อนเริ่มงานในสัตว์ IACUC เป็นความรับผิดชอบของสถาบันเพื่อให้แน่ใจว่า สมาชิกของ IACUC ทั้งหลายได้รับโอกาสการฝึก อบรมต่างๆเพื่อเข้าใจงานและบทบาทหน้าที่ของเขา การฝึกอบรมควรมีการปฐมนิเทศก์เพื่อแนะนำ�สมาชิก ใหม่ให้ทราบโปรแกรมของสถาบัน กฎหมาย กฎข้อบังคับ บรรทัดฐานและนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง สถานที่ และห้องปฏิบัติการต่างๆ สำ�หรับสัตว์ซึ่งการใช้สัตว์เกิดขึ้นและขั้นตอนการทบทวนโปรโตคอลและโปรแกรม (Greene et al. 2007) ควรจัดให้มโอกาสต่างๆอย่างต่อเนือง เพือเสริมความเข้าใจเรืองการดูแลและการใช้สตว์ ี ่ ่ ่ ั ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างเช่น สมาชิกของ IACUC อาจพบปะกับพนักงานดูแลสัตว์ทดลองและทีมวิจัย ได้รับ การเข้าถึงวารสาร เอกสารต่างๆเกี่ยวข้องและการอบรมผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เนต และ ได้รับโอกาส ในการเข้าร่วมการประชุมหรือการสัมนาเชิงปฏิบัติการต่างๆ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากร แต่ละสถาบันต้องจัดตั้งและสนับสนุนโครงการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSP) โดยเป็นส่วน ประกอบทีจ�เป็นทีสดอย่างหนึงของโครงการการดูแลและการใช้สตว์ทงหมด (CFR 1984a,b,c; DHHS 2009; ่ำ ่ ุ ่ ั ั้ PHS 2002) OHSP ต้องสอดคล้องกับกฎข้อบังคับของรัฐบาลกลาง ของรัฐและของท้องถิ่น และควรเน้น การธำ�รงสถานที่ทำ�งานที่ปลอดภัยและเอื้อต่อสุขภาพ (Gonder 2002; Newcomer 2002; OSHA1998a) ลักษณะของโครงการจะขึ้นอยู่กับสถานที่ กิจกรรมการวิจัย สิ่งที่เป็นอันตรายและชนิดสัตว์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง สิ่งตีพิมพ์ของสภาวิจัยแห่งชาติเรื่อง อาชีวอนามัยและความปลอดภัยสำ�หรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง (NRC1997) มีเนื้อหาแนวทางและเอกสารอ้างอิงต่างๆเพื่อการจัดตั้งและการดำ�รง OHSP ที่มีผลสำ�เร็จและ มีความครอบคลุม (ดูภาคผนวก ก.) โครงการประสบผลสำ�เร็จต้องมีการประสานงานกันระหว่างโปรแกรมวิจย ั (ทีนกวิจยเป็นตัวแทน) โปรแกรมการดูแลและการใช้สตว์ (ที่ AV IO และ IACUC เป็นตัวแทน) โปรแกรมสุขภาพ ่ ั ั ั และความปลอดภัยด้านสภาพแวดล้อม การให้บริการด้านอาชีวอนามัยต่างๆและการบริหาร (ได้แก่ บุคลากร ฝ่ายทรัพยากรบุคคล การเงินและฝ่ายช่างดูแลสถานที่) การจัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยอาจช่วย สนับสนุนการติดต่อและส่งเสริมการประเมินสุขภาพและความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง ในบางกรณีการมี คณะกรรมการดังกล่าวเป็นการปฏิบตตามกฎข้อบังคับ ภาระหน้าทีในการดำ�เนินงานซึงเกิดขึนทุกวันเพือความ ั ิ ่ ่ ้ ่ ปลอดภัยในสถานที่ทำ�งานขึ้นอยู่กับหัวหน้าห้องปฏิบัติการหรือสถานที่ (เช่น นักวิจัยหลัก ผู้อำ�นวยการสถาน ที่ หรือ สัตวแพทย์หนึ่งท่าน) และขึ้นอยู่กับการมีวิธีปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยโดยพนักงานทั้งหมด กลยุทธ์การควบคุมและการป้องกัน OHSP ที่ละเอียดถี่ถ้วนควรมีการปกครองตามลำ�ดับขั้นของกลยุทธ์การ ควบคุมและการป้องกันที่เริ่มต้นด้วย การระบุสิ่งที่เป็นอันตราย และการประเมินการเสี่ยงภัยที่เกี่ยวข้องกับ

18 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สิ่งที่เป็นอันตรายเหล่านั้น การจัดการสิ่งที่เป็นอันตรายเกี่ยวข้องกับขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้ ขั้นแรก การออกแบบและใช้เครื่องอำ�นวยความสะดวกอย่างเหมาะสม และการใช้อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย อย่างเหมาะสม (เป็นการควบคุมต่างๆทางวิศวกรรม) ขั้นที่สอง การพัฒนาขั้นตอนการปฏิบัติ และ ขั้นตอน การปฏิบตมาตรฐานต่างๆ (SOPs; เป็นการควบคุมทางการบริหาร) และท้ายทีสด การจัดให้มอปกรณ์ปองกัน ั ิ ่ ุ ี ุ ้ ภัยส่วนบุคคล (PPE) สำ�หรับพนักงาน ควรใช้อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยชนิดพิเศษร่วมกับการจัดการอย่าง เหมาะสมและวิธีการปฏิบัติต่างๆอย่างปลอดภัย (NIH 2002; OSHA 1998a,b) การจัดการภัยโดยใช้กลยุทธ์ เหล่านี้ต้องมีบุคลากรที่ได้รับการอบรม การรักษาสุขลักษณะอย่างดีของบุคลากร มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ เป็นอันตรายในสภาพแวดล้อมที่เขาทำ�งาน เข้าใจการเลือกและการใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง การทำ�ตามวิธี ปฏิบัติที่ได้กำ�หนดไว้และการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่จัดให้ การระบุสงทีเป็นอันตรายและการประเมินการเสียงภัย โปรแกรม OHSP ของสถาบันควรระบุสงเป็นอันตราย ิ่ ่ ่ ิ่ ที่สามารถแอบแฝงอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ทำ�งานและประเมินการเสี่ยงภัยต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง โปรแกรม OHSP ที่มีประสิทธิภาพรับประกันว่ามีการระบุและลดภัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์ในการ ทดลองให้นอยลงทีสดและอยูในระดับทียอมรับได้ การระบุสงทีเป็นอันตรายและการประเมินการเสียงภัยเป็น ้ ่ ุ ่ ่ ิ่ ่ ่ กระบวนการที่ดำ�เนินอย่างต่อเนื่องซึ่งเกี่ยวข้องกับบุคคลต่างๆที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อประเมินอันตราย ต่างๆทีเกียวกับโปรแกรม และดำ�เนินการวิธปองกันต่างๆ ให้ส�เร็จในสัดส่วนเท่าเทียมกัน ผูช�นาญการเฉพาะ ่ ่ ี ้ ำ ้ำ ด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่มีความรู้ในด้านที่ตรงประเด็นควรมีส่วนร่วมในการประเมินการเสี่ยงภัย และ การพัฒนาวิธีการต่างๆเพื่อจัดการภัยต่างๆดังกล่าวนั้น สิ่งที่เป็นอันตรายต่างๆที่สามารถแอบแฝงอยู่ได้แก่ สารชีวภาพ (เช่น เชื้อโรคติดต่อ หรือ พิษต่างๆ) สารเคมี (เช่น สารก่อมะเร็ง และสารก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจีนต่างๆ) กัมมันตภาพรังสี (เช่น radionucleo- tides เอ็กซเรย์ เลเซอร์) และภัยทางกายภาพ (เช่น เข็มและกระบอกฉีดยา) ควรกล่าวถึงภัยที่เกี่ยวข้อง กับสภาวะการทดลองที่ผิดปกติ ได้แก่ สิ่งต่างๆที่ประสบในการศึกษาภาคสนาม หรือการศึกษาสัตว์ป่าด้วย ภัยอืนๆทีสามารถแอบแฝงอยู่ ได้แก่ การถูกสัตว์กด การได้รบสารก่อภูมแพ้ สารเคมีทใช้ในการทำ�ความสะอาด ่ ่ ั ั ิ ี่ พืนเปียก เครืองล้างกรงและอุปกรณ์อนๆ การยกของ การใช้บนไดและโรคสัตว์สคนต่างๆ ควรระบุและประเมิน ้ ่ ื่ ั ู่ ภัยเหล่านี้มีอยู่ประจำ�ตัวหรือมีอยู่ตามธรรมชาติดั้งเดิมในการใช้สัตว์ เมื่อภัยต่างๆที่แอบแฝงอยู่ถูกระบุแล้ว ควรดำ�เนินการประเมินภัยที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มงวดโดยต่อเนื่อง เพื่อกำ�หนดแผนกลยุทธ์อย่างเหมาะสมให้ ภัยลดลงมากที่สุด หรือจัดการภัยต่างๆ ขอบเขตและระดับของการมีส่วนร่วมใน OHSP ของบุคลากรควรขึ้นอยู่กับสิ่งที่เป็นอันตรายต่างๆ ทีเกิดจากสัตว์และสิงต่างๆทีถกใช้ (ความรุนแรง หรือ ความร้ายแรงของอันตราย) ความรุนแรงของการคุกคาม ่ ่ ่ ู ความอ่อนแอต่อการติดโรค (เช่น ภาวะภูมิคุ้มกัน) ของบุคลากร และประวัติของการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บ ทางอาชีพในสถานทีท�งานเฉพาะ (Newcomer 2002; NRC 1997) การระบุและการประเมินสิงทีเป็นอันตราย ่ ำ ่ ่ ต่างๆอย่างต่อเนื่องเรียกร้องการตรวจตามระยะเวลา และการรายงานภาวะต่างๆที่ภัยสามารถแอบแฝงอยู่ หรือ เหตุการณ์“ที่เกือบเกิดขึ้น”

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 19 สถานที่ อุปกรณ์และการกำ�กับดูแล สถานที่ตามความต้องการเพื่อสนับสนุน OHSP จะแปรตามขอบเขต และกิจกรรมต่างๆของโปรแกรม การออกแบบสิ่งเหล่านี้ควรใช้การควบคุมทางวิศวกรรมและอุปกรณ์ก่อน สิ่งอื่นเพื่อลดการคุกคามต่อภัยที่คาดการณ์ไว้ให้ลดน้อยลงที่สุด (ดูบทที่ 5) เพราะว่าการมีมาตรฐานสูงของ ความสะอาดส่วนบุคคลเป็นสิ่งจำ�เป็น จึงควรมีสถานที่และสิ่งของต่างๆอย่างเหมาะสมสำ�หรับการเปลี่ยน การล้างและการอาบน้ำ� เมื่อใช้สารชีวภาพควรพิจารณาสิ่งตีพิมพ์ของศูนย์เพื่อการควบคุมและป้องกันโรค (CDC) และสถาบัน สุขภาพแห่งชาติ(NIH) เรื่อง ความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาและชีวการแพทย์ (BMBL; DHHS 2009) และ มาตรฐานของกระทรวงเกษตรแห่งสหรัฐฯ (USDA 2002) เพื่อการออกแบบสถาน ที่อย่างเหมาะสมและวิธีปฏิบัติอย่างปลอดภัย การออกแบบสิ่งเหล่านี้และรูปแบบเพื่อความปลอดภัยอยู่ บนฐานระดับของภัยทีมอยูในสารทีถกใช้ อาจจำ�เป็นต้องมีสถานทีและอุปกรณ์พเศษเพือป้องกันพนักงานดูแล ่ ี ่ ู่ ่ ิ ่ สัตว์และนักวิจัย ผู้ร่วมใช้สถานที่อื่นๆ สาธารณะ สัตว์ต่างๆและสิ่งแวดล้อมจากการคุกคามโดยสารที่มี ภัยต่างๆทางชีวภาพ เคมีและกายภาพที่ถูกใช้ในการทดลองที่ทำ�ในสัตว์ (DHHS 2009; Frasier and Talka 2005; NIH 2002) ในที่ที่จำ�เป็นควรแยกสถานที่เหล่านี้ออกจากบริเวณที่สัตว์อาศัยอยู่และส่วนสนับสนุน ห้องปฏิบัติการวิจัยและคลินิค และ สถานที่สำ�หรับดูแลผู้ป่วย สถานที่เหล่านี้ควรถูกแสดงสถานะอย่าง เหมาะสมและจำ�กัดการเข้าในบริเวณเหล่านี้เฉพาะบุคลากรที่ได้รับอนุญาต ควรออกแบบ คัดเลือกและพัฒนาสถานที่ อุปกรณ์และวิธีการปฎิบัติเพื่อลดความเป็นไปได้ในการ เกิดอันตรายต่อร่างกายหรือเป็นภัยต่อสุขภาพของบุคลากร (NIOHS 1997a,b) ควรพิจารณาการควบคุมต่างๆ และอุปกรณ์ทางวิศวกรรมที่บ่งชี้ภัยการบาดเจ็บจากการเคลื่อนไหวร่างกายในท่าเดิมซ้ำ�ๆ ในกิจกรรม ต่างๆ เช่น การยกของหนักหรือสัตว์ (AVMA 2008) สิ่งเหล่านี้มักถูกใช้เป็นประจำ�เพื่อจำ�กัดหรือควบคุมไม่ให้ บุคลากรสัมผัสสารก่อภูมิแพ้ต่างๆจากสัตว์ (Harrison 2001; Huerkamp et al. 2009) ควรประเมินความเป็น ไปได้ของการเกิดการบาดเจ็บต่างๆจากการเคลื่อนไหวร่างกายในท่าเดิมซ้�ๆในสถานที่เลี้ยงสัตว์ (เช่น การมี ำ ประชากรสัตว์ฟันแทะจำ�นวนมาก และ กิจกรรมสัตวบาลอื่นๆ) การเลือกระบบที่อยู่ของสัตว์อย่างเหมาะสมต้องใช้ความรู้และการตัดสินใจโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และขึนอยูกบลักษณะของสารอันตรายทีเป็นปัญหา ชนิดต่างๆของสัตว์ทถกใช้ ความจำ�กัดหรือสมรรถนะของ ้ ่ั ่ ี่ ู สถานที่ และการออกแบบการทดลอง สัตว์ทดลองควรอยูอาศัยในทีซงสามารถจัดการอาหารและวัสดุรองนอน ่ ่ ึ่ ที่ปนเปื้อน อุจจาระและปัสสาวะโดยวิธีที่สามารถควบคุมได้ ควรจัดสถานที่ อุปกรณ์ และวิธีปฏิบัติงาน อย่างเหมาะสมเพื่อการกำ�จัดวัสดุรองนอน ควรดูแลอุปกรณ์ความปลอดภัยอย่างถูกต้องและทดสอบยืนยัน เป็นประจำ�ว่าทำ�หน้าทีได้ ควรใช้วธตางๆทีเหมาะสมเพือการประเมินและควบคุมการถูกคุกคามโดยสารทีอาจ ่ ิี ่ ่ ่ ่ แอบแฝงอันตราย ทางชีวภาพ เคมี และทางกายภาพ ในที่จำ�เป็นต้องมี (เช่น สารกัมมันตรังสีที่แตกตัวได้เอง) หรือในที่ที่มีโอกาสการคุกคามสูงกว่าค่ามาตรฐานที่อนุญาตไว้ (CFR 1984b)

20 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การฝึกอบรมบุคลากร ตามกฎโดยทัวไป ความปลอดภัยขึนอยูกบบุคลากรผูถกฝึกแล้วปฏิบตตามวิธปฏิบตทาง ่ ้ ่ั ู้ ั ิ ี ั ิ ความปลอดภัยอย่างเข้มงวด บุคลากรผูเสียงภัยควรได้ให้มวธการปฏิบตทระบุอย่างชัดเจนและในสถานะการณ์ ้ ่ ีิี ั ิ ี่ เฉพาะต่างๆ มีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลเพื่อทำ�งานตามหน้าที่ เข้าใจอันตรายต่างๆ ที่ตนเกี่ยวข้อง และเชี่ยวชาญในการปฏิบัติตามวิธีป้องกันอันตรายตามที่ต้องการให้สำ�เร็จ บุคลากรควรได้รับการฝึกอบรม อย่างเหมาะสมตามความเสียงทีถกกำ�หนดโดยสถานทีท�งานเรืองโรคสัตว์สคนต่างๆ อันตรายต่างๆจากสาร ่ ่ ู ่ ำ ่ ู่ เคมี จุลชีพและกายภาพ (เช่น กัมมันตภาพรังสี และ สารก่อภูมิแพ้ต่างๆ) สภาพหรือสิ่งผิดปกติต่างๆ ที่อาจเป็นส่วนหนึ่งของวิธีทดลอง (เช่น การใช้เนื้อเยื่อของมนุษย์ในสัตว์ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันก้�กึ่ง) การจัดการ ำ ของเสีย สุขอนามัยส่วนบุคคล การใช้ PPE อย่างเหมาะสม และการพิจารณาอื่นๆ (เช่น ข้อควรระวังต่างๆ ที่ต้องทำ�ตามขณะตั้งครรภ์ การเจ็บป่วย หรือการมีภาวะภูมิคุ้มกันถูกกด) สุขอนามัยส่วนบุคคล การใช้สุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดีมักจะลดโอกาสการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ และภาวะการปนเปื้อนเชื้อ ควรกำ�หนดนโยบายและการบังคับใช้อย่างเหมาะสม และสถาบันควรจัดให้มี เครื่องแต่งตัวและ PPE ที่เหมาะสม (เช่น ถุงมือ หน้ากาก กะบังหน้า หมวกคลุมศีรษะ เสื้อคลุม เสื้อสวมคลุม ทั้งตัวหรือที่หุ้มรองเท้า) เพื่อใช้ในอาคารเลี้ยงสัตว์และห้องปฏิบัติการที่ใช้สัตว์ เครื่องแต่งตัวที่สกปรก ควร ถูกทิง ซักทำ�ความสะอาดหรือกำ�จัดการปนเปือนเชืออย่างเหมาะสมโดยสถาบัน และอาจต้องมีการจัดหาทำ�ให้ ้ ้ ้ เป็นผลอย่างเจาะจงถ้าใช้บริการจากภายนอก บุคลากรควรล้าง และ/หรือ ฆ่าเชือมือของตน และเปลียนเสือผ้า ้ ่ ้ บ่อยเท่าที่จ�เป็นเพื่อคงไว้ซึ่งสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดี ไม่ควรใส่เสื้อผ้าชั้นนอกที่สวมใส่ในห้องสัตว์ออกนอก ำ อาคารเลี้ยงสัตว์ยกเว้นได้ถูกปิดคลุมแล้ว (NRC 1997) ไม่อนุญาตให้บุคลากรรับประทาน ดื่ม ใช้ผลิตภัณฑ์ ยาสูบ หรือจับต้อง หรือทาเครื่องสำ�อางค์ในห้องและห้องปฏิบัติการที่เลี้ยงสัตว์หรือใช้สัตว์ (DHHS 2009; NRC 1997; OSHA 1998a) การทดลองในสั ต ว์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ภั ย อั น ตราย ถ้ า มี ก ารเลื อ กวิ ธี ก ารป้ อ งกั น เพื่ อ ความปลอดภั ย ต่ า งๆ เฉพาะสำ�หรับการทดลองกับภัยอันตรายสำ �หรับการทดลองในสัตว์ร่วมกับสิ่งที่มีอันตรายต่างๆ ควรให้ ความสนใจอย่างรอบคอบต่อวิธีการดำ�เนินการสำ�หรับการดูแลและที่อยู่อาศัย การเก็บของและการจ่าย สิ่งอันตราย การเตรียมสารตามขนาดและการให้สาร การจัดการของเหลวและเนื้อเยื่อของร่างกาย การกำ�จัด ของเสียและซากสัตว์ ตลอดจนสิ่งต่างๆที่อาจถูกใช้ชั่วขณะและถูกกำ�จัดจากแหล่งที่ตั้ง (เช่น เอกสารที่เขียน เครื่องมือทดลอง ภาชนะใส่ตัวอย่างต่างๆ ) และการป้องกันบุคลากร สถาบันควรมีนโยบายและวิธปฏิบตตางๆอย่างเป็นลายลักษณ์อกษร เพือกำ�กับดูแลการทดลองร่วมกับ ี ั ิ ่ ั ่ สิงอันตรายต่างๆ ทางชีวภาพ เคมีและกายภาพ ควรพัฒนากระบวนการควบคุมดูแล (เช่น การใช้คณะกรรมการ ่ ความปลอดภัย) โดยนำ�บุคลากรผูมความรูในการประเมินอันตรายและการใช้สารอันตรายต่างๆ อย่างปลอดภัย ้ ี ้ หรือวิธีการปฏิบัติ และ ควรมีการทบทวนวิธีการปฏิบัติและสถานที่ต่างๆ ที่ถูกใช้เพื่อประเด็นที่เป็นห่วงต่างๆ ด้านความปลอดภัยโดยเฉพาะความปลอดภัยด้านต่างๆ เพราะการใช้สัตว์ในการทดลองดังกล่าวต้องถูก

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 21 พิจารณาเป็นพิเศษ ควรทบทวนการดำ�เนินการและสิงอำ�นวยความสะดวกด้านความปลอดภัยโดยเฉพาะ ควร ่ จัดตั้งโครงการความปลอดภัยอย่างเป็นทางการเพื่อประเมินภัยอันตราย พิจารณาวิธีป้องกันอันตรายต่างๆ ที่จำ�เป็นเพื่อการควบคุมอันตรายเหล่านั้น และเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ร่วมงานมีการฝึกอบรมและมีทักษะที่จำ�เป็น และมีสถานทีอย่างเพียงพอเพือการดำ�เนินการวิจยอย่างปลอดภัย ควรให้การสนับสนุนทางเทคนิคเพือกำ�กับ ่ ่ ั ่ ดูแลและรับประกันว่าสอดคล้องกับนโยบายด้านความปลอดภัยของสถาบัน วิธีเข้าถึงด้วยความร่วมมือกัน ระหว่างนักวิจยและทีมวิจย สัตวแพทย์ผรบผิดชอบ พนักงานดูแลสัตว์ และ ผูเชียวชาญด้านอาชีวอนามัยและ ั ั ู้ ั ้ ่ ความปลอดภัยอาจช่วยส่งเสริมการปฏิบัติตามนโยบาย หนังสือ BMBL (DHHS 2009) และ NRC (1997) แนะนำ�วิธีปฏิบัติและวิธีดำ�เนินการต่างๆ อุปกรณ์ เพื่อความปลอดภัย และสถานที่ตามที่ต้องจัดให้มีเพื่อการทำ�งานกับสิ่งและวัตถุอันตรายต่างๆทางชีวภาพ สถาบันต่างๆที่จัดการสิ่งต่างๆที่ไม่ทราบอันตรายควรปรึกษาบุคลากรของ CDC เกี่ยวกับการควบคุมภัยและ การเฝ้าระวังทางการแพทย์ การใช้ “เชือหรือพิษทีคดเลือกไว้” ในการวิจยบังคับให้สถาบันจัดตังโปรแกรมหนึง ้ ่ ั ั ้ ่ และวิธีดำ�เนินการต่างๆเพื่อการจัดหา การรักษาและการกำ�จัดสิ่งเหล่านี้ (CFR 1998, 2002a,b; NRC 2004; PL 107-56; PL 107-88; Richmond et al. 2003) การใช้สัตว์ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือได้รับการแปลง ทางพันธุกรรม (GMAs) ทำ�ให้อ่อนแอต่อโรคหรือปลดปล่อยเชื้อโรคของมนุษย์ การใช้เนื้อเยื่อของมนุษย์และ cell lines หรือ แบบจำ�ลองโรคติดเชื้อใดๆ สามารถทำ�ให้เกิดการเสี่ยงภัยเพิ่มมากขึ้นต่อสุขภาพและ ความปลอดภัยของบุคลากรซึ่งทำ�งานกับสัตว์ (Lassnig et al. 2005; NIH 2002) ควรจำ�กัดสิ่งอันตรายต่างๆเฉพาะในบริเวณที่ทำ�การทดลอง ตัวอย่างเช่น การใช้การควบคุมการ ไหลเวยนอากาศระหวางการจดการและการใหสารอนตรายตางๆ การผาชนสตรสตวทปนเปอนเชอ (CDC NIH ี ่ ั ้ ั ่ ่ ั ู ั ์ ี่ ื้ ื้ 2000) และการทำ�งานกับสารเคมีอันตราย (Thomann 2003) ก๊าซดมสลบซึ่งปล่อยทิ้งควรถูกกำ�จัดออก ทีระดับจำ�กัด ่ การป้องกันบุคลากร ขณะที่การควบคุมทางวิศวกรรมและทางการบริหารถูกพิจารณาเป็นอันดับหนึ่งเพื่อ ป้องกันบุคลากร PPE ที่เหมาะสมสำ�หรับสภาพแวดล้อมที่ทำ�งาน สถาบันควรจัดให้มีเครื่องแต่งกายสะอาด เพือป้องกันอย่างสม่�เสมอตามความจำ�เป็น ไม่ควรใส่เสือผ้าและอุปกรณ์ชดป้องกันออกนอกเขตของบริเวณ ่ ำ ้ ุ ทำ�งานหรือบริเวณเลียงสัตว์ทมสารอันตราย (DHHS 2009) ถ้ามีความเหมาะสมพนักงานควรอาบน้�เมือออก ้ ี่ ี ำ ่ จากบริเวณดูแลสัตว์ การปฏิบัติหรือการเตรียมยาตามขนาด ถ้าพนักงานมีโอกาสสัมผัสกับสารอันตรายหรือ สัตว์บางชนิดควรให้มี PPE ชนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (CFR 1984c) ตัวอย่างเช่น บุคลากรที่สัมผัส กับลิงควรมี PPE ได้แก่ ถุงมือ เครื่องป้องกันแขน หน้ากากปิดปาก กะบังหน้าและแว่นตานิรภัยที่เหมาะสม (NRC 2003a) ควรจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันการได้ยินในบริเวณที่มีเสียงดัง (OSHA 1998c) ควรจัดอุปกรณ์ ป้องกันระบบหายใจทีเหมาะสมให้พนักงานทีท�งานในบริเวณต่างๆทีอาจมีการสัมผัสกับฝุนละอองในอากาศ ่ ่ ำ ่ ่ ที่มีเชื้อปนเปื้อนหรือมีไอระเหยจากสารเคมี (Fechter 1995; McCullough 2000; OSHA 1998d) ร่วมกับ การทดสอบความกระชับพอดีของหน้ากากกรองอากาศ และ การฝึกอบรมการใช้และการดูแลรักษาหน้ากาก กรองอากาศ (respirator) อย่างถูกต้อง (OSHA 1998d; Sargent and Gallo 2003)

22 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การประเมินทางการแพทย์และเวชศาสตร์ป้องกันสำ�หรับพนักงาน การพัฒนาและการปฏิบัติเพื่อให้โครงการ ประเมินทางการแพทย์และเวชศาสตร์ป้องกันสัมฤทธิ์ผลควรรวมข้อคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพต่างๆ ที่ได้ผ่านการอบรม ได้แก่ แพทย์และพยาบาลด้านอาชีวอนามัย ต้องคำ�นึงถึงการรักษาความลับและ ปัจจัยต่างๆ ด้านการแพทย์และกฎหมายตามรายละเอียดของกฎหมายรัฐบาลกลาง ของรัฐและของท้องถิ่น (เช่น PL 104-191) แนะนำ�ให้ท�การประเมินสุขภาพ และ/หรือ ประวัตสขภาพก่อนการรับมอบตำ�แหน่งหน้าที่ เพือประเมิน ำ ิุ ่ ความเสี่ยงภัยที่เป็นไปได้ของพนักงานแต่ละคน แนะนำ�ให้มีการประเมินสุขภาพตามระยะเวลากับพนักงาน ในกลุ่มต่างๆที่มีความเสี่ยงเฉพาะ ตัวอย่างเช่น บุคลากรที่ต้องใช้การป้องกันการหายใจอาจต้องได้รับการ ประเมินทางการแพทย์เพือให้มนใจว่าเขามีความพร้อมทางกายและทางจิตทีสามารถใช้หน้ากากกรองอากาศ ่ ั่ ่ อย่างถูกต้อง (Sargent and Gallo 2003) ควรมีแผนการให้วคซีนทีเหมาะสม การฉีดวัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก ั ่ ให้พนักงานดูแลสัตว์เป็นสิ่งสำ�คัญ (NRC 1997) ควรมีการให้ภูมิคุ้มกันก่อนการสัมผัสสิ่งคุกคามต่างๆ แก่บุคลากรซึ่งมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ หรือสัมผัสกับเชื้อเฉพาะชนิดต่างๆ ได้แก่ ไวรัสพิษสุนัขบ้า (เช่น ถ้า ปฏิบตงานกับสัตว์ชนิดทีมความเสียงต่อการติดเชือ) หรือ ไวรัสตับอักเสบบี (เช่น ถ้าปฏิบตงานกับเลือดมนุษย์ ั ิ ่ ี ่ ้ ั ิ เนื้อเยื่อมนุษย์ cell lines หรือ stocks) แนะนำ�ให้ฉีดวัคซีนถ้าการวิจัยนั้นศึกษาโรคติดเชื้อซึ่งมีวัคซีนป้องกัน ได้ผล สามารถค้นหาข้อแนะนำ�ต่างๆเฉพาะเรื่องได้ใน BMBL (DHHS 2009) แนะนำ�ให้ทำ�การเก็บน้ำ�เหลือง ก่อนการจ้างงานหรือก่อนการสัมผัสเชื้อ เฉพาะในกรณีเฉพาะซึ่งถูกกำ�หนดโดยผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (NRC1997) ในกรณีดังกล่าว ควรพิจารณาการทำ�เครื่องหมาย การติดตาม การเก็บ และสภาพการเก็บของตัวอย่าง และวัตถุประสงค์ในการนำ�ตัวอย่าง น้�เหลืองมาใช้ตองสอดคล้องกับกฎหมาย ำ ้ ของรัฐบาลกลางและของรัฐ ภาวะภูมแพ้สตว์ทดลองได้กลายเป็นประเด็นสำ�คัญอย่างยิงต่อบุคคลต่างๆทีสมผัสกับสัตว์ทดลอง (Bush ิ ั ่ ่ั and Stave 2003; Gordon 2001; Wolfle and Bush 2001; Wood 2001) ควรส่งเสริมโปรแกรมการสำ�รวจ ทางการแพทย์เพือให้การวินจฉัยภาวะภูมแพ้กระทำ�ได้แต่เนินๆ (Bush 2001; Bush and Stave 2003; Seward ่ ิ ิ ่ 2001) และมีการประเมินประวัติทางการแพทย์ของบุคลากรเพื่อทราบภาวะภูมิแพ้ที่มีอยู่ก่อนหน้าแล้ว การ ฝึกอบรมบุคลากรควรให้ขอมูลเรืองภูมแพ้สตว์ทดลอง มาตรการควบคุมป้องกัน การตระหนักรูและการรายงาน ้ ่ ิ ั ้ กลุมอาการภูมแพ้ได้แต่เนินๆ และเทคนิคการปฏิบตงานกับสัตว์อย่างถูกต้อง (Gordon et al. 1997; Schweitzer ่ ิ ่ ั ิ et al. 2003; Thulin et al. 2002) ควรใช้ PPE เพื่อการเสริมไม่ใช่การแทนที่การควบคุมทางวิศวกรรมและตาม กระบวนการ (Harrison 2001; Reeb-Whitaker et al. 1999) ถ้า PPE สำ�หรับการป้องกันการหายใจเป็น สิ่งจำ�เป็น ควรให้ทำ�การทดสอบการกระชับของหน้ากากและการฝึกอบรมอย่างเหมาะสม การเฝ้าระวังโรคสัตว์สู่คนควรเป็นส่วนหนึ่งใน OHSP (DHHS 2009; NCR 1997) บุคลากรควรได้รับ การสอนให้แจ้งหัวหน้างานว่าอาจสัมผัสหรือทราบว่าได้สมผัสสิงคุกคาม และเมือสงสัยว่ามีอนตรายต่อสุขภาพ ั ่ ่ ั

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 23 และการเจ็บป่วยต่างๆ โรคของสัตว์จำ�พวกลิงที่สามารถติดต่อสู่มนุษย์อาจเป็นอันตรายอย่างรุนแรง (NRC 2003a) เจ้าหน้าที่เทคนิคผู้ทำ�งานดูแลสัตว์ สัตวแพทย์ นักวิจัย นักศึกษา เจ้าหน้าที่เทคนิคผู้ทำ�งานวิจัย ช่างซ่อมบำ�รุง และบุคคลอื่นๆผู้ที่สัมผัสกับลิง หรือ เนื้อเยื่อและของเหลวจากร่างกายลิง หรือมีหน้าที่ในโรง เรือนเลี้ยงลิงควรได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคเป็นประจำ� เนื่องจากมีความเป็นไปได้ในการคุกคามจากเชื้อ Macacine herpesvirus 1 (เคยถูกเรียกว่า Cercopithecine herpesvirus 1 หรือ Herpesvirus simiae) บุคลากร ผู้ทำ�งานกับหรือสัมผัสตัวอย่างทางชีววิทยา (เลือดและเนื้อเยื่อ) ของลิงมาแคค (macaques) ควรเข้าถึงและ ได้รับคำ�แนะนำ�ในการใช้ชุดอุปกรณ์ปฐมพยาบาลฉุกเฉินสำ�หรับการถูกลิงกัดหรือข่วน (Cohen et al. 2002) การบาดเจ็บทีเกียวข้องกับลิงมาแคค เนือเยือและของเหลวจากร่างกายลิง หรือ กรงและอุปกรณ์ซงสัตว์ได้เคย ่ ่ ้ ่ ึ่ สัมผัสโดยตรง ควรได้รับการประเมินอย่างรอบคอบและได้รับการรักษาหลังการถูกคุกคามและการติดตาม ดูอาการอย่างเหมาะสม (ibid.; NRC 2003a) ควรกำ�หนดวิธีปฎิบัติอย่างชัดเจนเพื่อการรายงานอุบัติเหตุ การถูกกัด การถูกข่วนและการเกิดอาการ ภูมิแพ้ทั้งหมด (NRC 1997) และมีการดูแลทางการแพทย์เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวได้โดยทันท่วงที ควรมีวิธีการปฏิบัติทั้งหมดที่ชัดเจน (Cohen et al. 2002; DHHS 2009) การคุ้มกันความปลอดภัยของบุคลากร ขณะที่แผนการเตรียมความพร้อมต่างๆครอบคลุมภัยพิบัติตามธรรมชาติต่างๆ แผนเหล่านี้ควรคำ�นึง การคุกคามจากกิจกรรมการก่ออาชญากรรมต่างๆ ได้แก่ การข่มขู่และการทำ�ลายชื่อเสียง การบุกรุกเข้าไป ในอาคาร การลอบวางเพลิงและการลอบทำ�ลายปองร้ายต่างๆที่มีต่อสัตว์ทดลอง บุคลากรวิจัย อุปกรณ์ และสถานที่ต่างๆ และงานวิจัยทางชีวการแพทย์ที่ทำ�อยู่ในสถาบัน ควรพิจารณาวิธีดำ�เนินการป้องกัน ตลอดจนการคัดกรองพนักงานก่อนการว่าจ้าง และความปลอดภัยทางกายภาพและข้อมูลทางเทคโนโลยี (Miller 2007) การสอบสวนและการรายงานข้อกังวลต่างๆ เกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ การปกป้องสวัสดิภาพสัตว์เป็นความรับผิดชอบของทุกๆคนทีเกียวข้องกับโปรแกรม สถาบันต้องกำ�หนด ่ ่ วิธตางๆเพือการรายงานและการสอบสวนข้อร้องเรียนต่างๆเกียวกับสวัสดิภาพสัตว์ และบุคลากรควรรับทราบ ี ่ ่ ่ ความสำ�คัญและกลไกการรายงานข้อร้องเรียนต่างๆเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ ในประเทศสหรัฐฯ ภาระหน้าที่ รับผิดชอบการทบทวนและการสอบสวนข้อร้องเรียนเหล่านี้ตกอยู่กับ IO และ IACUC การสนองตอบการ รายงานข้อร้องเรียนควรประกอบด้วย การสื่อสารผลการสอบสวนไปยังบุคคลผู้ที่ร้องเรียนยกเว้นถ้าข้อ ร้องเรียนต่างๆดังกล่าวไม่ระบุชอ การดำ�เนินการแก้ไขถ้าลงความเห็นว่าเป็นความจำ�เป็นและรายงานเรืองดัง ื่ ่ กล่าวให้ IO ทราบ ถ้อยแถลงผลการสอบสวนและการดำ�เนินการแก้ไขข้อร้องเรียนที่ถูกเสนอและการแก้ไข ต่างควรถูกเก็บบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร

24 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ควรปิดประกาศกลไกต่างๆเพื่อการรายงานข้อร้องเรียนต่างๆ ในที่ซึ่งสามารถเห็นได้อย่างเด่นชัดใน อาคารและบนเวบไซท์ที่เหมาะสมของสถาบัน ตลอดจนการแนะนำ�วิธีและบุคคลผู้รับรายงานการร้องเรียน แนะนำ�ให้มีผู้รับรายงานหลายๆคน ได้แก่ ผู้บริหารอาวุโส IO ประธานของ IACUC และ AV ขั้นตอนควรรวม ถึง กลไกการไม่ระบุชื่อ การปฏิบัติตามนโยบายการหยุดการกระทำ�ที่เกี่ยวข้อง ความเท่าเทียมกันไม่เลือก ปฏิบัติต่อกลุ่มผู้ร้องเรียน/รายงาน และ การป้องกันการแก้แค้นต่างๆ การฝึกอบรมและการสื่อสารอย่างเป็นกิจวัตรกับพนักงาน (รวมทังบุคลากร เช่น พนักงานผูที่เก็บรักษา ้ ้ ผู้ซ่อมบำ�รุง และธุรการ) ผู้ที่ไม่ได้ใช้สัตว์โดยตรง ให้เข้าใจเรื่องกิจกรรมการใช้สัตว์ทั้งหลายของสถาบันอาจ ลดข้อร้องเรียนต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ การควบคุมดูแลโปรแกรม ภารกิจของไอคุค องค์ประกอบและหน้าที่ของไอคุค ภาระหน้าที่ของ IACUC คือ การกำ�กับดูแลและการประเมินโปรแกรมเป็นประจำ� ผู้บริหารสูงสุดของ แต่ละสถาบัน สถาบันมีความรับผิดชอบต่อการจัดให้มีการปฐมนิเทศก์อย่างเหมาะสม วัสดุสิ่งของพื้นฐาน ต่างๆ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลอย่างเหมาะสมและให้การฝึกอบรมเฉพาะเรื่องเมื่อจำ�เป็นเพื่อช่วยเหลือสมาชิก ของ IACUC ให้เข้าใจภาระหน้าทีและความรับผิดชอบของเขาเหล่านัน และการประเมินประเด็นต่างๆทีเสนอ ่ ้ ่ มายังคณะกรรมการ องค์ประกอบของคณะกรรมการมีดังต่อไปนี้ สัตวแพทย์หนึ่งท่านผู้ซึ่งได้รับวุฒิบัตร (เช่น โดย ACLAM, ECLAM, JCLAM, KCLAM) หรือ เป็น ผู้ซึ่งได้รับการอบรมหรือผ่านการฝึกอบรมและมีประสบการณ์ในวิทยาศาสตร์และอายุรศาสตร์ สัตว์ทดลองหรือในการใช้สัตว์ที่สถาบันอย่างใดอย่างหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ที่มีประสบการณ์ในการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์อย่างน้อยหนึ่งท่าน สมาชิกที่ไม่มีพื้นฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้มาจากภายในหรือภายนอกสถาบันอย่างน้อย หนึ่งท่าน สมาชิกจากสาธารณะอย่างน้อยหนึ่งท่านเพื่อเป็นตัวแทนความสนใจของชุมชนต่อการดูแลและ การใช้สัตว์อย่างถูกต้อง ตัวแทนจากสาธารณะไม่ควรเป็นผู้ใช้สัตว์ทดลอง ไม่เป็นผู้ที่ผูกพันในทางใดๆกับสถาบัน หรือไม่เป็น สมาชิกในครอบครัวโดยตรงของบุคคลผูผกพันกับสถาบัน ตัวแทนจากสาธารณะอาจได้รบค่าตอบแทนชดเชย ้ ู ั การมีส่วนร่วมและค่าใช้จ่ายข้างเคียงอื่นๆ (เช่น ค่าอาหาร ค่าจอดรถ ค่าเดินทาง) แต่จำ �นวนเงินควรพอ ประมาณ โดยไม่เป็นแหล่งรายได้หลักและไม่ขัดแย้งต่อการเป็นสมาชิกของสังคมและสาธารณะโดยส่วนใหญ่

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 25 สำ�หรับสถาบันขนาดใหญ่ทมหน่วยบริหารและแผนกหลายแห่ง สมาชิกทีออกเสียงได้ไม่ควรมีมากเกิน ี่ ี ่ สามท่านที่มีความเกี่ยวข้องกับหน่วยบริหารหนึ่งแห่ง (USDA 1985) ขนาดของสถาบัน และ ลักษณะและ ขอบเขตของโปรแกรมจะกำ�หนดจำ�นวนของสมาชิกของคณะกรรมการและระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งของ ท่านเหล่านั้น สถาบันที่มีโปรแกรมวิจัยต่างๆอย่างกว้างขวางอาจจำ�เป็นต้องเลือกนักวิทยาศาสตร์จากแต่ละ สาขาและประสบการณ์เพื่อประเมินโปรโตคอลการใช้สัตว์ได้อย่างถูกต้อง คณะกรรมการมีภาระหน้าที่ในการกำ�กับดูแลและประเมินโครงการและส่วนประกอบของโครงการ ทั้งหมด ดังอธิบายไว้ในบทอื่นๆของข้อแนะนำ� หน้าที่การกำ�กับดูแล ได้แก่ การทบทวนและการอนุมัติการใช้ สัตว์ตามที่ได้ขอมา (การทบทวนโปรโตคอล) และการเปลี่ยนแปลงการใช้สัตว์ที่ได้ขอไว้แล้ว การตรวจสถานที่ และบริเวณทีใช้ปฏิบตตอสัตว์เป็นประจำ� การทบทวนโครงการเป็นประจำ� การประเมินการดูแลและการใช้สตว์ ่ ั ิ ่ ั อย่างต่อเนื่อง และการกำ�หนดกลไกเพื่อการรับทราบและการทบทวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและ การใช้สตว์ทสถาบัน คณะกรรมการต้องประชุมบ่อยครังเท่าทีจ�เป็นเพือบรรลุหน้าทีตามความรับผิดชอบอย่าง ั ี่ ้ ่ำ ่ ่ เต็มที่ และเก็บรักษารายงานการประชุมคณะกรรมการและผลของการพิจารณา ควรทบทวนโครงการและตรวจ สถานทีอย่างน้อยปีละหนึงครังหรือบ่อยกว่านีตามระบุ (เช่น ตามกฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ และนโยบาย PHS) ่ ่ ้ ้ หลังการทบทวนและการตรวจควรทำ�รายงาน (รวมทั้ง ความเห็นเสียงข้างน้อยถ้ามี) เสนอต่อ IO เพื่อแสดง สถานะของโครงการ การทบทวนโปรโตคอล โปรโตคอลการใช้สตว์เป็นการบรรยายอย่างละเอียดของการใช้สตว์ทดลองทีได้เสนอขอมา การเตรียม ั ั ่ โปรโตคอลโดยนักวิจัยและการทบทวนโดย IACUC ควรพิจารณาหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ เหตุผลและความมุ่งหมายการเสนอขอใช้สัตว์ การบรรยายขันตอนการปฏิบตทเกียวข้องกับการใช้สตว์อย่างชัดเจนและตามลำ�ดับเหตุการณ์อย่าง ้ ั ิ ี่ ่ ั สั้นกระชับ ซึ่งสมาชิกคณะกรรมการทุกท่านเข้าใจได้ง่าย การมี อ ยู่ ห รื อ ความเหมาะสมของการใช้ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ มี ก ารรุ ก ล้ำ � เข้ า ในร่ า งกายสั ต ว์ น้ อ ยกว่ า การใช้สัตว์ชนิดอื่น การเตรียมอวัยวะที่แยกออกมา การเพาะเลี้ยงเซลล์หรือเนื้อเยื่อ หรือการ เลียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (ดูภาคผนวก ก. ทางเลือกทดแทน) การให้เหตุผลของการใช้ชนิดและจำ�นวนสัตว์ที่ได้เสนอขอมา หากเป็นไปได้ควรให้เหตุผลทาง สถิติที่สมควรกับจำ�นวนของสัตว์และขนาดของกลุ่มการทดลอง (เช่น แสดง power analysis ดูภาคผนวก ก. การออกแบบการทดลองและสถิติ) การไม่ทำ�การทดลองซ้ำ�ซ้อนโดยไม่จ�เป็น ำ ความต้องการที่อยู่และการดูแลแบบไม่ได้มาตรฐาน ความจำ�เป็นของวิธีปฏิบัติที่เสนอมา ซึ่งมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ การระงับประสาท การระงับปวดและการวางยาสลบอย่างเหมาะสม (อันดับความเจ็บปวดหรือ

26 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การรุกล้ำ� อาจช่วยในการเตรียมและการทบทวนโปรโตคอล ดูภาคผนวก ก. การวางยาสลบ ความเจ็บปวด และศัลยกรรม) การทำ�ศัลยกรรม เช่น วิธีการผ่าตัดใหญ่หลายครั้ง การดูแลและการสังเกตุอาการสัตว์หลังการปฏิบัติ (เช่น การมีแบบฟอร์มต่างๆเพื่อประเมินสัตว์ หลังการปฏิบัติ หรือ หลังการผ่าตัด) การบรรยายและเหตุผลเพื่อจุดสิ้นสุดการทดลองตามที่ได้คาดการณ์หรือคัดเลือกไว้ เกณฑ์และขั้นตอนเพื่อการแทรกแซง การนำ�สัตว์ออกจากการทดลองหรือการทำ�การุณยฆาต อย่างทันเวลา ถ้าความเจ็บปวดหรือทรมานเป็นผลลัพธ์ตามที่คาดการณ์ไว้ วิธีการทำ�การุณยฆาตหรือการกำ�จัดซากสัตว์ รวมทั้งแผนการดูแลสัตว์ที่มีชีวิตอยู่ได้อีกยาวนาน หลังจากการทดลองสิ้นสุดลง ความเพียงพอของการฝึกอบรมและประสบการณ์ของบุคลากรในวิธีปฏิบัติที่ถูกใช้ และ บทบาท และความรับผิดชอบต่างๆของบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง การใช้สิ่งมีภัยอันตราย และ การให้สภาพแวดล้อมการทำ�งานที่ปลอดภัย ขณะที่หน้าที่การพิจารณาความเหมาะสมทางวิทยาศาสตร์ตามปกติอยู่นอกกรอบอำ�นาจของ IACUC สมาชิกคณะกรรมการควรประเมินองค์ประกอบทางวิทยาศาสตร์ต่างๆของโปรโตคอลว่ามีความสัมพันธ์ต่อ สวัสดิภาพและการใช้สัตว์ ตัวอย่างเช่น สมมุติฐานของการทดลอง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำ�นวนกลุ่ม และความ พอเพียงของกลุ่มควบคุม สามารถเกี่ยวพันโดยตรงต่อการป้องกันการใช้สัตว์โดยไม่จำ�เป็น หรือการทำ�การ ทดลองอย่างซ้�ซ้อน ข้อคิดเห็นจากผูเชียวชาญจากภายนอกอาจช่วยแนะนำ�หรือมีความจำ�เป็นสำ�หรับคำ�ถาม ำ ้ ่ บางอย่างของ IACUC ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานการทบทวนความเหมาะสมทางวิทยาศาสตร์ใดๆ IACUC อาจ พิจารณาทำ�หรือเสนอขอให้มีการทำ�การทบทวนดังกล่าว (Mann and Prentice 2004) สมาชิก IACUC ที่มีชื่อ อยูในโปรโตคอลหรือมีผลประโยชน์ทบซ้อนเรืองอืนๆ ต้องขอถอนตัวออกจากการตัดสินใจใดๆทีเกียวข้องกับ ่ ั ่ ่ ่ ่ โปรโตคอลต่างๆเหล่านั้น ในหลายครั้งโปรโตคอลมีวิธีปฏิบัติที่ไม่เคยทำ�มาก่อน หรือมีโอกาสเกิดความเจ็บปวดหรือทรมานที่ไม่ สามารถคาดการณ์หรือควบคุมได้ ควรเสาะหาข้อมูลที่สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัติต่างๆ และผลประโยชน์ของการศึกษา จากวารสารวิชาการ สัตวแพทย์ นักวิจัยและผู้รู้ท่านอื่นๆที่ทราบผลกระทบ ต่อสัตว์ ถ้าความรูเกียวกับวิธปฏิบตดงกล่าวมีเพียงเล็กน้อย จึงเป็นการเหมาะสมให้ท�การศึกษานำ�ร่อง (pilot ้ ่ ี ั ิ ั ำ studies) อย่างจำ�กัดขอบเขต โดยออกแบบเพื่อประเมินผลกระทบของการปฏิบัติต่อสัตว์รวมทั้งทักษะความ ชำ�นาญของทีมวิจย และทำ�การศึกษาภายใต้การดูแลโดย IACUC มีคำ�แนะนำ�เพือการประเมินโปรโตคอลหรือ ั ่ วิธีการสำ�หรับบางสถานการณ์ดังกล่าวต่อไปนี้ แต่อาจไม่ประยุกต์ใช้ได้ทุกสถานการณ์

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 27 การพิจารณาเป็นพิเศษในการทบทวนโดยไอคุค โปรโตคอลบางชนิดมีการปฏิบัติหรือการเข้าสู่กระบวนการที่ทำ�ให้ IACUC ต้องมีขั้นตอนการทบทวน การพิจารณาเป็นพิเศษ เนื่องจากมีข้อกังวลที่เป็นไปได้เรื่องความเจ็บปวด หรือการทรมาน หรือ สวัสดิภาพ สัตว์อื่น หัวข้อต่อไปนี้เป็นบางส่วนที่ IACUC มักต้องพิจารณาเป็นพิเศษ สำ�หรับหัวข้อต่างๆเหล่านี้และเรื่อ งอื่นๆ IACUC ถูกบังคับให้ชั่งน้ำ�หนักระหว่างวัตถุประสงค์ของการทดลองกับข้อกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ ที่อาจเป็นไปได้ โดยการพิจารณาโอกาสต่างๆ เพื่อลดความเจ็บปวด การใช้การทดแทนอื่นที่ไม่ใช้สัตว์อย่าง เหมาะสม การใช้สัตว์จ�นวนน้อยลง ทั้งสถาบันและนักวิจัยหลัก (PI) สามารถเริ่มแสดงภาระผูกพันที่มีร่วมกัน ำ ในเรื่องการดูแลและการใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรม จุดสิ้นสุดการทดลองและจุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรม จุดสิ้นสุดการทดลองของการศึกษาเรื่องหนึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้ บรรลุความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ทางวิทยาศาสตร์ จุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรมคือจุดที่ความเจ็บปวดหรือ ทุกข์ทรมานในการทดลองหนึงถูกป้องกัน หยุดหรือบรรเทา การใช้จดสินสุดเพือมนุษยธรรมต่างๆเกียวพันกับ ่ ุ ้ ่ ่ ความประณีตโดยการกำ�หนดวิธีทดแทนจุดสิ้นสุดการทดลองซึ่งทำ�ให้เกิดความเจ็บปวดหรือทุกข์ทรมานที่ไม่ สามารถบรรเทา และการตาย จุดสินสุดเพือมนุษยธรรมควรตรงประเด็นและเชือถือได้ (Hendriksen and Steen ้ ่ ่ 2000; Olfert and Godson 2000; Sass 2000; Stokes 2002) ในหลายการทดลองต่างๆที่มีความล่วงล้�จุด ำ สิ้นสุดการทดลองของการศึกษาและจุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรมมีการเชื่อมต่อกัน (Wallace 2000) และควรถูก พิจารณาอย่างรอบคอบขณะทบทวนโปรโตคอล ขณะทีการศึกษาทุกเรืองควรใช้จดสินสุดทีมมนุษยธรรม การ ่ ่ ุ ้ ่ ี ศึกษาต่างๆที่มักต้องการการพิจารณาเป็นพิเศษ ได้แก่ การศึกษาต่างๆซึ่งเกี่ยวกับแบบจำ�ลองเนื้องอก โรค ติดเชือ การให้เชือตามหลังการให้วคซีน การจำ�ลองภาวะความเจ็บปวด การบาดเจ็บชอกช้� การผลิตภูมคมกัน ้ ้ ั ำ ิ ุ้ ซึงได้จากเซลล์ชนิดเดียวกัน (monoclonal antibodies) การประเมินผลความเป็นพิษ ความล้มเหลวของอวัยวะ ่ และระบบของร่างกาย และแบบจำ�ลองภาวะช็อคจากหัวใจ-หลอดเลือดล้มเหลว นักวิจัยหลักผู้มีความรู้แม่นยำ�ทั้งวัตถุประสงค์ของการศึกษาและแบบจำ�ลองที่เสนอ ควรระบุ อธิบาย และเสนอจุดสินสุดการทดลองทีมมนุษยธรรม และชอบด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ การกำ�หนดจุดสินสุดทาง ้ ่ ี ้ มนุษย ธรรมมักเป็นการท้าทาย อย่างไรก็ดี เพราะว่าต้องพิจารณาชั่งน้�หนักปัจจัยหลายๆอย่าง ได้แก่ แบบ ำ จำ�ลอง ชนิดสัตว์ (และบางครั้ง สายพันธุ์หรือเชื้อสาย) สภาวะสุขภาพ วัตถุประสงค์ของการศึกษา นโยบาย ของสถาบัน สิ่งที่ต้องปฏิบัติตามข้อกำ�หนดต่างๆ และในบางครั้งผลงานสิ่งตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์มีการขัด แย้งกันเอง การกำ�หนดจุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรมควรรวมนักวิจัยหลัก สัตวแพทย์และ IACUC และเมื่อทำ�ได้ ควรถูกกำ�หนดก่อนการเริ่มการศึกษา (Olfert and Godson 2000; Stokes 2000) ข้อมูลที่สำ�คัญยิ่งต่อการประเมินของ IACUC ในการพิจารณาความเหมาะสมของจุดสิ้นสุดทาง มนุษยธรรมในโปรโตคอล ได้แก่ ความหมายทีชดเจนของจุดสินสุดเพือมนุษยธรรม (รวมทังเกณฑ์การประเมิน) ่ั ้ ่ ้ ความถีของการสังเกตุอาการสัตว์ การฝึกอบรมบุคลากรผูรบผิดชอบต่อการประเมินและรับทราบจุดสินสุดทาง ่ ้ั ้

28 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง มนุษยธรรม และสนองตอบตามที่กำ�หนดเมื่อบรรลุจุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรม (Toth 2000) การระบุค�นิยาม ำ ของภาวะใกล้ตายทางพฤติกรรมและทางกายภาพ (ibid) และการใช้การบันทึกต่างๆสำ�หรับการประเมินสัตว์ โดยเฉพาะสำ�หรับการศึกษา (Morton 2000; Paster et al. 2009) สามารถช่วย PI และ IACUC ในการพิจารณา และพัฒนาจุดสินสุดเพือมนุษยธรรมตามทีคาดหวัง เมือมีการเสนอการทดลองใหม่ๆหรือปราศจากข้อมูล การ ้ ่ ่ ่ ใช้การทดลองนำ�ร่องต่างๆเป็นวิธทได้ผลเพือค้นหาและกำ�หนดจุดสินสุดเพือมนุษยธรรม และบรรลุความเห็น ี ี่ ่ ้ ่ พ้องต้องกันระหว่าง PI IACUC และสัตวแพทย์ ควรจัดให้มีระบบเพื่อการสื่อสารกับ IACUC ทั้งในระหว่าง ทำ�การทดลองต่างๆและหลังจากนั้น มีสิ่งตีพิมพ์อยู่มากมายที่กล่าวถึงโครงการเฉพาะต่างๆ สำ�หรับความ เกียวข้องและการใช้จดสินสุดเพือมนุษยธรรมต่างๆ (เช่น CCAC 1998; ILAR 2000; OECD 1999; Toth 1997; ่ ุ ้ ่ UKCCCR 1997) ผลลัพธ์ที่คาดไม่ถึง พื้นฐานของคำ�ถามทางวิทยาศาสตร์คือการค้นคว้าตัวแปรใหม่ๆของการทดลอง จำ�เป็น ต้องมีการดูแลอาการสัตว์บ่อยครั้งขึ้นเพราะว่ามีโอกาสการเกิดผลลัพธ์ต่างๆที่คาดไม่ถึงซึ่งอาจมีผลต่อความ เป็นอยู่ที่ดีของสัตว์เมื่อมีการใช้ตัวแปรใหม่ๆอย่างมาก GMA ซึ่งมีโอกาสมีลักษณะที่ปรากฎให้เห็นโดยการ ควบคุมของจีน (phenotypes) ที่คาดไม่ถึง จึงเป็นตัวอย่างโมเดลของโรคต่างๆซึ่งควรเพิ่มการสังเกตว่ามีการ เกิดผลลัพธ์ต่างๆที่ไม่คาดคิด (Dennis 1999) GMA โดยเฉพาะอย่างยิง หนูเมาส์และปลา เป็นโมเดลของโรคต่างๆทีส�คัญและมีการพัฒนาวิธใหม่ๆ ่ ่ ำ ี และ การผนวกรวมกับการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมอยู่เสมอ (Gondo 2008) โดยไม่ต้องคำ�นึงถึงว่ามีการ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมอย่างเฉพาะเจาะจงหรือโดยการสุ่ม ผล phenotypes โดยเบื้องต้นมักไม่สามารถ คาดเดาได้ และอาจนำ�ไปสู่ผลลัพธ์ต่างๆ ที่คาดไว้ก่อนหรือคาดไม่ถึงซึ่งมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ที่ดีของ สัตว์ หรือ การรอดชีวิตที่ช่วงใดๆของชีวิต ตัวอย่างเช่น ในบางโอกาสการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได้นำ�ไป สู่ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องซึ่งมองไม่เห็น ทำ�ให้ลูกสัตว์ GMA ต้องถูกเก็บภายใต้สภาวะพิเศษเพื่อสกัดกั้นเชื้อ โรคต่างๆ (Mumphrey et al. 2007) และลำ�ดับทางพันธุกรรมของ promoter ที่ถูกใช้เพื่อกำ�หนดการแสดงออก ของ transgenes ณ เนื้อเยื่อเฉพาะต่างๆ มีดีกรีความจำ�เพาะที่แปรปรวน (มีความรั่ว “leakiness”) ที่สามารถ แสดงให้เห็น phenotypes ที่คาดไม่ถึง (Moorehead et al. 2003) ตัวอย่างเหล่านี้แสดงผลลัพธ์แตกต่างกัน หลายชนิดที่คาดไม่ถึงและเน้นให้เห็นความจำ�เป็นต้องมีความขยันหมั่นดูแลอาการสัตว์ และ ใช้การตัดสินใจ โดยผูเชียวชาญเพือให้มนใจในความเป็นอยูทดของสัตว์ (Dennis 2000) ควรดูแลลูกรุนแรกของ GMA เชือสาย ้ ่ ่ ั่ ่ ี่ ี ่ ้ ใหม่อย่างระมัดระวังตั้งแต่เกิดไปจนเริ่มโตเต็มวัยว่ามีอาการของโรค ความเจ็บปวดหรือการทรมาน นักวิจัย มักพบว่า phenotype ที่ไม่มีโอกาสแพร่พันธุ์ genotypes บางประเภทหรือที่เกิดเป็นหมัน สถานะต่างๆนี้ สามารถนำ�ไปสูการเพิมจำ�นวนสัตว์ทถกใช้และการปรับปรุงโปรโตคอล เมือเริมต้นหาลักษณะเฉพาะของ GMA ่ ่ ี่ ู ่ ่ พบว่ามีภาวะที่มีผลทางลบต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ ควรรายงานให้ IACUC ทราบ และอาจต้องมีการ วิเคราะห์ลงรายละเอียดเพื่อระบุ phenotype เพิ่มมากขึ้น (Brown et al. 2000; Crawley 1999; Dennis 2000)

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 29 การควบคุมดูแลและการรายงานดังกล่าวอาจช่วยกำ�หนดว่ามาตรการต่างๆที่ได้ริเริ่มสามารถครอบคลุมล้อม หรือบรรเทาผลกระทบของการเปลียนแปลงทางพันธุกรรมต่อความเป็นอยูทดของสัตว์ และ กำ�หนดจุดสินสุด ่ ่ ี่ ี ้ ทางมนุษย ธรรมโดยเฉพาะกับ GMA สายนั้น การจับบังคับสัตว์ การจับบังคับสัตว์เป็นการใช้มือหรือเครื่องมือ เพื่อจำ�กัดการเคลื่อนไหวตามปกติของสัตว์ บางส่วนหรือทั้งหมด เพื่อจุดประสงค์ในการตรวจ การเก็บตัวอย่าง การให้ยา การรักษาหรือวิธีการปฏิบติเพือ ั ่ การทดลอง ในการปฏิบัติการวิจัยส่วนใหญ่สัตว์ถูกบังคับเป็นระยะเวลาสั้นๆ ตามปกติเป็นเวลาหลายนาที เครื่องบังคับสัตว์แบบต่าง ๆ ควรมีความเหมาะสมในด้านขนาด รูปแบบและวิธีการเพื่อลดความ ไม่สบาย ความเจ็บปวด การทรมาน หรือโอกาสการเกิดอันตรายต่อสัตว์ให้เหลือน้อยที่สุด สามารถฝึกสุนัข ลิ ง และสั ต ว์ ช นิ ด อื่ น ๆ ได้ โ ดยใช้ เ ทคนิ ค การเสริ ม กำ � ลั ง ในด้ า นบวกต่ า งๆ (positive reinforcement techniques) เพื่อให้ยอมร่วมมือตามวิธีปฏิบัติวิจัย หรือยอมอยู่นิ่งๆเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ (Boissy et al. 2007; Laule et al. 2003; Meunier 2006; Prescott and Buchanan-Smith 2003; Reinhardt 1991, 1995; Sauce- da and Schmidt 2000; Yeates and Main 2009) ควรหลีกเลี่ยงการจับบังคับเป็นระยะเวลานาน รวมทั้งการจับลิงนั่งเก้าอี้ ยกเว้นเมื่อมีความจำ�เป็นเพื่อ บรรลุจุดประสงค์ของการวิจัย และได้รับการอนุมัติอย่างเฉพาะเจาะจงโดย IACUC (NRC 2003b) ควรใช้ ระบบวิธีบังคับที่จำ�กัดความสามารถการอยู่ในท่าทางอย่างเป็นปกติของสัตว์เมื่อวัตถุประสงค์ของโปรโตคอล ยอมรับได้ (เช่น ระบบการฝังเครืองส่งลำ�เลียงสารละลายขนาดจิวในสัตว์ฟนแทะ เครืองส่งลำ�เลียงสารละลาย ่ ๋ ั ่ ทีบรรจุพอดีในเป้หลังในสุนขและลิง และการเลียงปศุสตว์ปล่อยโดยไม่ขงคอก) สัตว์ทไม่สามารถปรับตัวให้เข้า ่ ั ้ ั ั ี่ กับระบบการจัดบังคับร่างกายทีจ�เป็นควรถูกปลดออกจากการศึกษา ถ้าต้องใช้เครืองมือบังคับ เครืองมือนัน ่ำ ่ ่ ้ ควรได้รบการออกแบบโดยเฉพาะเพือบรรลุเป้าหมายของงานวิจยทีไม่อาจทำ�ได้โดยวิธการอืน หรือไม่เหมาะ ั ่ ั ่ ี ่ สมในทางปฏิบัติให้สำ�เร็จด้วยวิธีอื่นๆ หรือเพื่อป้องกันการบาดเจ็บต่อสัตว์หรือบุคลากร แนวทางสำ�คัญเพื่อการจับบังคับสัตว์ได้แก่ เครื่องมือจับบังคับต่างๆ ไม่ควรถือว่าเป็นที่อยู่ปกติของสัตว์ และต้องให้เหตุผลอย่างเหมาะสม ในโปรโตคอลการใช้สัตว์ ไม่ควรใช้เครื่องมือจับบังคับต่างๆ เพียงเพื่อความสะดวกในการจับหรือจัดการสัตว์ ควรพิจารณาวิธีทางเลือกอื่นๆแทนการจับบังคับสัตว์ ควรมีระยะเวลาของการจับบังคับตามต้องการให้สั้นที่สุดเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของงานวิจัย สัตว์ที่ต้องอยู่ในเครื่องจับบังคับ ควรได้รับการฝึก (ด้วยวิธีการเสริมกำ�ลังในด้านบวก) เพื่อปรับตัว ให้ชินกับเครื่องมือและบุคลากร สัตว์ที่ไม่สามารถปรับตัวควรถูกคัดออกจากการศึกษา ควรจัดให้มีการสังเกตสัตว์ตามช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม ดังที่ IACUC ได้พิจารณา

30 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ควรได้รับการดูแลจากสัตวแพทย์ หากพบวิการหรือการเจ็บป่วยจากการจับบังคับสัตว์ ถ้าสัตว์ แสดงวิการ การเจ็บป่วย หรือ การเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างรุนแรง มักจำ�เป็นต้องต้องปล่อยสัตว์ ออกจากการจับบังคับชั่วขณะหรืออย่างถาวร ควรอธิบายวัตถุประสงค์และระยะเวลาของการจับบังคับสัตว์ให้บุคลากรผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษา ให้เข้าใจอย่างชัดเจน วิธีการผ่าตัดใหญ่หลายครั้ง การทำ�ศัลยกรรมในห้องปฏิบัติการอาจจำ�แนกประเภทเป็นแบบใหญ่และเล็ก (USDA 1985) ควรประเมินแต่ละกรณีไม่ว่าวิธีการทำ�เป็นใหญ่หรือเล็กโดยสัตวแพทย์และ IACUC (NRC 2003b; Silverman et al. 2007; สำ�หรับการอธิบายเพิ่มเติม ดูบทที่ 4 วิธีด�เนินการผ่าตัด) ำ โดยไม่คำ�นึงถึงจำ�แนกประเภท การทำ�ศัลยกรรมหลายๆ ครั้งบนสัตว์ตัวเดียวควรถูกประเมินเพื่อ พิจารณาผลกระทบต่อต่อความเป็นอยูทดของสัตว์ การทำ�ศัลยกรรมหลายๆครังบนสัตว์ตวเดียวเป็นสิงยอมรับ ่ ี่ ี ้ ั ่ ได้ถาสิงเหล่านีเป็น (1) เป็นส่วนหนึงและเป็นส่วนประกอบทีจ�เป็นของโครงการวิจยหรือโปรโตคอลเรืองหนึง ้ ่ ้ ่ ่ำ ั ่ ่ (2) นักวิจยได้แสดงเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ หรือ (3) เป็นสิงจำ�เป็นเพือการรักษาทางคลินกเท่านัน การอนุรกษ์ ั ่ ่ ิ ้ ั ทรัพยากรสัตว์หายากอาจเป็นเหตุผลสมควรในการทำ�ศัลยกรรมใหญ่หลายๆครั้งบนสัตว์ตัวเดียว IACUC ควรขัดขวางการปฏิบัติเช่นนี้บนสัตว์ตัวเดียวแต่แยกกันทำ�ในหลายๆโปรโตคอลและควรทบทวนเรื่องนี้อย่าง จริงจัง เมือใดทีมการปฏิบตตามข้อบังคับอย่างสอดคล้อง IO ต้องเสนอคำ�ร้องขออนุญาตไปยัง USDA/APHIS ่ ่ ี ั ิ และต้องรอการอนุญาตเพือให้ทำ�การทำ�ศัลยกรรมใหญ่หลายๆครั้งบนตัวสัตว์ตวหนึ่งตามบังคับแยกจากการ ่ ั ขออนุญาตโปรโตคอลส่วนอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องกัน (USDA 1985; 1997a) ควรให้มีเหตุผลสมควรต่างๆตาม เกณฑ์ดังกล่าวแล้วเพื่อยอมให้สัตว์ชนิดที่ไม่ถูกควบคุมโดย USDAเพื่อให้ทำ�ศัลยกรรมรอดชีวิตหลายๆ ครั้ง เช่นเดียวกันกับสัตว์ที่ถูกควบคุมตามข้อบังคับ ถ้ามีการอนุญาตให้ท�ศัลยกรรมรอดชีวิตหลายๆครั้ง IACUC ำ ควรใส่ใจรายละเอียดความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ด้วยการประเมินผลลัพธ์ต่างๆอย่างต่อเนื่อง การประหยัด ค่าใช้จ่ายเพียงอย่างเดียวไม่ถือเป็นเหตุผลเพียงพอเพื่อให้ท�การทำ�ศัลยกรรมใหญ่รอดชีวิตหลายๆครั้ง ำ วิธีการผ่าตัดบางอย่างนับเป็นศัลยกรรมเล็กแต่อาจเกิดความเจ็บปวดหรือความผิดปกติที่เกิดขึ้น ตามมาหลังการทำ�อย่างมากมาย และควรมีการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์อย่างสมควรเช่นเดียวกัน ถ้าทำ� มากกว่าหนึ่งครั้งบนสัตว์ตัวหนึ่ง การจำ�กัดอาหารหรือของเหลว การควบคุมการได้รบอาหารหรือของเหลวอาจเป็นความต้องการเพือโปรโตคอล ั ่ วิจยต่างๆบางอย่างทางสรีรวิทยา ประสาทวิทยาและพฤติกรรม กระบวนการควบคุมอาจพัวพันกับการกำ�หนด ั ตารางเวลาการให้เข้าถึง (scheduled access) แหล่งอาหารหรือของเหลว ดังนั้นสัตว์ตัวหนึ่งบริโภคได้มากเท่า ที่มันต้องการตามช่วงเวลาประจำ�ตามเกณฑ์ หรือ การจำ�กัด (restriction) ซึ่งปริมาณรวมทั้งหมดของอาหาร หรือของ เหลวถูกตรวจตราและควบคุมอย่างเข้มงวด (NRC 2003b) เป้าหมายเมื่อวางแผนและดำ�เนินการ ศึกษาให้สำ�เร็จควรใช้การจำ�กัดอย่างน้อยที่สุดเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางวิทยาศาสตร์ขณะเดียวกับการดำ�รง ไว้ซึ่งความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 31 การพัฒนาโปรโตคอลที่เกี่ยวข้องกับการใช้การควบคุมอาหารหรือของเหลวต้องมีการประเมินปัจจัย สามอย่าง ได้แก่ ระดับการควบคุมที่จำ�เป็น ผลกระทบหลังการควบคุมที่อาจเป็นไปได้ และ วิธีการต่างๆ ในการประเมินสุขภาพและความเป็นอยูทดของสัตว์ (NRC 2003b) นอกจากนี้ ปัจจัยต่างๆทีตามมามีอทธิพล ่ ี่ ี ่ ิ ต่อปริมาณการจำ�กัดอาหารหรือของเหลวซึงสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในโปรโตคอลโดยเฉพาะ ได้แก่ ชนิด ่ สายพันธุ์หรือเชื้อสาย เพศและอายุของสัตว์ อุปสงค์ในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ชนิดของที่อยู่อาศัย เวลาการให้อาหาร คุณค่าทางโภชนาการและปริมาณเยื่อใยที่มีในอาหาร (Heiderstadt et al. 2000; Rowland 2007) ตลอดจนการปฏิบัติต่างๆที่ได้ทำ�มาก่อนหน้าการทดลอง ดีกรีของการจำ�กัดอาหารหรือของเหลว ที่มีความจำ�เป็นต่อสมรรถภาพทางพฤติกรรมได้รับอิทธิพลโดยความยากของชิ้นงานที่ให้สัตว์ทำ� ตัวสัตว์ แต่ละตัว แรงจูงใจที่สัตว์ต้องการและประสิทธิผลของการฝึกสัตว์เพื่อทำ�ชิ้นงานหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับโปรโตคอล ควรดูแลสัตว์อย่างใกล้ชด เพือให้แน่ใจว่าอาหารและของเหลวทีได้รบมีความเหมาะสมกับความจำ�เป็น ิ ่ ่ ั ทางโภชนาการของสัตว์เหล่านั้น (Toth and Gardiner 2000) ควรจดบันทึกน้�หนักตัวสัตว์อย่างน้อยสัปดาห์ ำ ละครั้งหรือทำ�โดยบ่อยครั้งมากกว่า สำ�หรับสัตว์ที่ต้องให้การจำ�กัดมากกว่า (NRC 2003b) ควรเก็บรักษา รายงานของสัตว์แต่ละตัวเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อบันทึกการบริโภคอาหารและของเหลวประจำ�วัน ภาวะ การมีน้ำ� และการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและทางคลินิคใดๆซึ่งใช้เป็นเกณฑ์สำ�หรับปลดสัตว์ตัวหนึ่ง อย่างชั่วคราว หรือโดยถาวรออกจากโปรโตคอลหนึ่ง (Morton 2002; NRC 2003b) ในกรณีโปรโตคอลวิจัย การตอบสนองต่อสภาวะดังได้กำ�หนดไว้แนะนำ�ให้ใช้อาหารหรือของเหลวชนิดที่สัตว์ชอบอย่างมากเป็นการ เสริมพลังด้านบวกแทนการจำ�กัดอาหาร การจำ�กัดปริมาณพลังงานจากอาหารโดยเป็นเทคนิคทางสัตวบาล และวิธีการควบคุมน้ำ�หนักได้กล่าวไว้ในบทที่ 3 การใช้สารเคมีในระดับที่ไม่ใช่เภสัชภัณฑ์และสารอื่นๆ การใช้สารเคมีในระดับที่เป็นเภสัชภัณฑ์และสารอื่นๆ ทำ�ให้แน่ใจว่าพิษและผลข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์ไม่ถูกนำ�เข้าไปในการศึกษาที่ทำ�ในสัตว์ทดลอง ดังนั้น จึงควรใช้สารเหล่านีเมือมีอยูหากใช้ได้กบปฏิบตการทีเกียวข้องกับสัตว์ (USDA 1997b) การใช้สารเคมีในระดับ ้ ่ ่ ั ั ิ ่ ่ ที่ไม่ใช่เภสัชภัณฑ์และสารอื่นๆ ควรอธิบายและให้เหตุผลตามสมควรในโปรโตคอลและได้รับการอนุมัติโดย IACUC (Wolff et al. 2003) ตัวอย่างเช่น การใช้สารเคมีในระดับที่ไม่ใช่เภสัชภัณฑ์และสารอื่นๆอาจมีความ จำ�เป็นตามเป้าหมายทางวิทยาศาสตร์ของโครงการหนึ่ง หรือเมื่อเภสัชภัณฑ์ของมนุษย์ไม่มีให้ใช้ ในกรณี เหล่านี้ควรคำ�นึงถึงระดับ ความบริสุทธิ์ ความปลอดเชื้อ ความเป็นกรดด่าง การก่อไข้ ความสามารถการซึม ผ่านของเหลว การคงที่ ตำ�แหน่งและวิธีให้สาร ตำ�หรับ ความเข้ากันได้ และเภสัชจลนศาสตร์ของสารเคมีหรือ สารซึ่งให้สัตว์ ตลอดจนสวัสดิภาพสัตว์และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารนี้ (NIH 2008) การสำ�รวจภาคสนาม การวิจัยต่างๆอาจเกี่ยวพันกับการสังเกตหรือการใช้สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยง ภายใต้สภาวะภาคสนาม การศึกษาภาคสนามหลายๆอย่างต้องได้มีหนังสืออนุญาตระหว่างประเทศ ตาม กฎหมายของรัฐบาลกลาง กฎหมายของรัฐ และ/หรือของท้องถิ่นซึ่งอาจเรียกร้องให้ประเมินความสมควรทาง วิทยาศาสตร์ของการศึกษาทีเสนอมาและพิจารณาผลกระทบทีอาจเกิดขึนได้ตอประชากรหรือชนิดสัตว์ทศกษา ่ ่ ้ ่ ี่ ึ

32 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง นอกจากนี้ประเด็นอาชีวอนามัยและความปลอดภัยต่างๆ ได้แก่ โรคสัตว์สู่คนต่างๆ ควรได้รับการ ทบทวนโดยคณะกรรมการหรือสำ�นักงานสุขภาพและความปลอดภัยของสถาบันร่วมกับการรับประกันต่อ IACUC ว่าการศึกษาไม่มีส่วนทำ�ให้สุขภาพและความปลอดภัยของสัตว์และมนุษย์ที่อยู่ในเขตนั้นตกอยู่ใน อันตราย นักวิจัยหลักผู้บริหารการวิจัยภาคสนามควรรอบรู้เรื่องโรคสัตว์สู่คนต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน ประเด็น ความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องต่างๆ และ กฎหมายหรือข้อบังคับใดๆ ที่ต้องปฏิบัติตาม ข้อยกเว้นใดๆ ต่อสิ่ง เหล่านี้ควรอธิบายชี้แจงอย่างชัดเจนและประเมินโดย IACUC ในการวางแผนการศึกษาภาคสนาม นักวิจยถูกกระตุนให้ปรึกษาประชาคมผูเชียวชาญต่างๆ ทีเกียวข้อง ั ้ ้ ่ ่ ่ และคำ�แนะนำ�ต่างๆที่มีให้ใช้ (ดูภาคผนวก ก.) ข้อคิดเห็นจากสัตวแพทย์อาจจำ�เป็นสำ�หรับโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดักจับ การทำ�เครื่องหมาย การทำ�ให้เซื่องซึม การวางยาสลบ ศัลยกรรม การฟื้นจากสลบ การเก็บเลี้ยงไว้ การขนส่ง การปล่อยคืนหรือการทำ�การุณยฆาต ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเหล่านี้ มีเหมือนๆกันถ้าการปฏิบัติแตกต่างไปจากการปฏิบัติต่อสัตว์ชนิดเดียวกันที่ถูกเก็บหรือใช้ในห้องปฏิบัติการ ถ้าสัตว์ถกเคลือนย้ายออกจากป่า โปรโตคอลควรมีแผนต่างๆเพือการคืนสูถนทีอยูเดิม หรือ การกำ�จัดในทีสด ู ่ ่ ่ ิ่ ่ ่ ่ ุ อย่างใดอย่างหนึ่งตามความเหมาะสม ข้อแนะนำ�ไม่ได้มีใจความเป็นบทสรุปของข้อมูลทั้งหมดเรื่องชีววิทยาภาคสนามและวิธีการต่างๆ ที่ใช้ ในการสำ�รวจสัตว์ป่าต่างๆ แต่ให้เกณฑ์พื้นฐานการดูแลและการใช้ที่ประยุกต์ใช้กับสัตว์ที่อาศัยอยู่ในสภาพ ตามธรรมชาติ IACUC ผู้ ทำ � งานทบทวนการศึ ก ษาภาคสนามถู ก กระตุ้ น ให้ ป รึ ก ษานั ก ชี ว วิ ท ยาสั ต ว์ ป่ า ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม ปศุสัตว์ การใช้ปศุสัตว์ในการวิจัยจำ�เป็นต้องเสนอการพิจารณาทางจริยธรรมเช่นเดียวกันกับสัตว์อื่นๆ ที่ใช้ ในการวิจย ถึงแม้วาการวิจยปศุสตว์มกถูกจำ�แนกเป็นด้านชีวการแพทย์หรือการเกษตรอย่างใดอย่างหนึงเพราะ ั ่ ั ั ั ่ ว่ากฎข้อบังคับและนโยบายของรัฐบาล นโยบายของสถาบัน โครงสร้างทางการบริหาร แหล่งเงินทุน และ/หรือ เป้าหมายต่างๆ (Stricklin et al. 1990) การจำ�แนกเช่นนี้นำ�ไปสู่ระบบหนึ่งซึ่งมีสองเกณฑ์ที่แตกต่างกัน เพื่อประเมินโปรโตคอลและมาตรฐานของที่อยู่และดูแลสำ�หรับสัตว์ชนิดเดียวกันบนพื้นฐานที่ระบุว่าเป็น วัตถุประสงค์ด้านชีวการแพทย์หรือการเกษตร (Stricklin and Mench 1994) สำ�หรับการศึกษาบางอย่าง ความ แตกต่างกันในเป้าหมายการวิจัยอาจนำ�ไปสู่การแบ่งแยกระหว่างวัตถุประสงค์ชีวการแพทย์หรือการเกษตร อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น การใช้สตว์เป็นแบบจำ�ลองของโรคต่างๆในคน การปลูกถ่ายอวัยวะและการศัลยกรรม ั ใหญ่ถูกพิจารณาว่าเป็นการใช้เพื่อชีวการแพทย์ และการศึกษาเรื่องการผลิตอาหารและเส้นใยต่างๆ เช่น การทดลองอาหาร มักถูกพิจารณาว่าเป็นการใช้เพือการเกษตร แต่เมือการแบ่งแยกนีไม่ชดเจน เช่น การศึกษา ่ ่ ้ ั โภชนาการและโรคบางชนิด ผูบริหาร ผูก�กับดูแล และ IACUC มักต้องเผชิญกับสถานการณ์ก�กึงทีมสองทาง ้ ้ ำ ้ำ ่ ่ ี เลือกในการตัดสินใจจัดการกับการศึกษาเรื่องนั้นๆ อย่างไร (Stricklin et al. 1990) การตัดสินใจในการจำ�แนก การใช้ปศุสัตว์ในการวิจัยและการกำ�หนดมาตรฐานต่างๆสำ�หรับการดูแลและการใช้ควรทำ�โดย IACUC

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 33 บนพื้นฐานทั้งเป้าหมายของนักวิจัยและข้อกังวลเรื่องความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ การพิจารณาโปรโตคอลควรพิจารณาสิ่งแวดล้อมที่จัดตั้ง (แบบฟาร์มหรือห้องปฏิบัติการ) แทนที่การ คำ�นึงถึงแค่รปแบบการวิจยว่าเป็นชนิดใด ระบบทีอยูส�หรับปศุสตว์ทถกใช้ในการวิจยชีวการแพทย์อาจเหมือน ู ั ่ ่ำ ั ี่ ู ั หรือแตกต่างจากระบบต่างๆที่ใช้ในการวิจัยด้านการเกษตร สัตว์ที่ถูกใช้ในด้านใดๆสามารถถูกเลี้ยงในกรง คอก ทุ่งขนาดย่อม หรือทุ่งขนาดใหญ่ (Tillman 1994) การศึกษาด้านการเกษตรบางอย่างจำ�เป็นต้องมีสภาพ แวดล้อมคงทีสม่�เสมอเพือลดตัวแปรด้านสภาพแวดล้อมลงให้เหลือน้อยทีสด และการศึกษาด้านชีวการแพทย์ ่ ำ ่ ุ่ บางเรื่องมักถูกจัดการในสิ่งแวดล้อมแบบฟาร์ม การศึกษาด้านการเกษตรมักมีความจำ�เป็นซึ่งสัตว์ถูกจัดการ โดยสอดคล้องกับวิธีปฏิบัติการผลิตที่ใช้ในฟาร์มที่ทันสมัย (Stricklin and Mench 1994) และสภาพแวดล้อม ตามธรรมชาติอาจถูกเลือกเพื่อการศึกษาด้านการเกษตร ในขณะที่การควบคุมสภาพแวดล้อมเพื่อลดการ ผันแปรอาจถูกเลือกเพื่อการศึกษาด้านชีวการแพทย์ (Tillman1994) ข้อแนะนำ�นำ�ไปใช้กับปศุสัตว์ในงานวิจัยทางชีวการแพทย์รวมทั้งปศุสัตว์ที่เลี้ยงในสภาพฟาร์มต่างๆ มีหนังสือสำ�หรับสัตว์ทเลียงในสภาพฟาร์มทีเป็นแหล่งทีมประโยชน์เรือง ข้อแนะนำ�การดูแลและการใช้ปศุสตว์ ี่ ้ ่ ่ ี ่ ั ในงานวิจัยและการสอน (FASS 2010) สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องการเพิ่มพูนสิ่งแวดล้อม การขนส่ง และ การจัดการปศุสตว์อาจมีประโยชน์ในจัดเตรียมสิงแวดล้อมทังแบบการเกษตรและชีวการแพทย์ ข้อมูลเพิมเติม ั ่ ้ ่ เรื่องสิ่งอำ�นวยความสะดวก และการจัดการสัตว์ฟาร์มในสิ่งแวดล้อมแบบการเกษตรกรรม มีไว้ให้ที่ Midwest Plan Service (1987) และจากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมเกษตรหรือด้านสัตวศาสตร์ การกำ�กับดูแลตามหลังการอนุมัติ การกำ�กับดูแลกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับสัตว์อย่างต่อเนื่องโดย IACUC เป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎข้อบังคับและนโยบายต่างๆของรัฐบาลกลาง สามารถใช้กลไกที่มีอยู่มากมายเพื่ออำ�นวยความสดวก ต่อการประเมินโปรโตคอลอย่างต่อเนืองและโดยสอดคล้องกับกฎข้อบังคับ การกำ�กับดูแลตามหลังการอนุมติ ่ ั (PAM) ถูกคำ�นึงถึง ณ ทีนดวยความหมายกว้าง โดยคำ�นึงถึงการกำ�กับดูแลโปรโตคอลทุกวิธตามหลังการอนุมติ ่ ี้ ้ ี ั ตั้งแต่เริ่มต้น PAM ช่วยรับรองความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์และอาจช่วยให้โอกาสต่างๆเพื่อขัดเกลาปรับปรุงวิธีปฏิบัติ งานวิจัย วิธีที่ใช้ได้แก่ การทบทวนโปรโตคอลอย่างต่อเนื่อง การตรวจห้องปฏิบัติการ (ที่ทำ�ขณะการตรวจ สถานที่ตามปกติ หรือ แยกทำ�ต่างหาก) การที่สัตวแพทย์ หรือ IACUC ดูการปฏิบัติที่ถูกคัดเลือก การสังเกต อาการสัตว์โดยบุคลากรต่างๆผูดแลสัตว์ เจ้าหน้าทีของสัตวแพทย์ พนักงานและสมาชิกของ IACUC และ การ ้ ู ่ ตรวจและการประเมินจากภายนอกตามกฎข้อบังคับ บุคลากรของ IACUC เจ้าหน้าทีของสัตวแพทย์ผดแลสัตว์ ่ ู้ ู และ ผู้ดูแลให้ปฏิบัติตามกฎอาจทำ� PAM ซึ่งอาจใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้

34 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การทบทวนโปรโตคอลอย่างต่อเนื่องประกอบด้วยการปรับปรุงข้อมูลใหม่และการทบทวนประจำ�ปี ตลอดจนการทบทวนรายสามปีที่ต้องทำ�สอดคล้องตาม PHS ความลึกซึ้งของการทบทวนดังกล่าวผันแปรได้ ตั้งแต่การให้ปรับปรุงข้อมูลใหม่ทุกปี ไปจนถึงการทบทวนโปรโตคอลทั้งหมดโดยคณะกรรมการทั้งคณะ บาง สถาบันใช้การปรับปรุงข้อมูลใหม่ทุกปีเป็นโอกาสให้นักวิจัยส่งเอกสารเสนอขอแก้ไข (amendments) สำ�หรับ วิธปฏิบตในอนาคต เพือให้สงการอธิบายเหตุการณ์ตางๆทีเป็นผลร้ายหรือไม่คาดคิด และ การให้ขอมูลความ ี ั ิ ่ ่ ่ ่ ้ คืบหน้าของงานที่กำ�ลังทำ� สำ�หรับการทบทวนรายสามปี สถาบันหลายๆ แห่งมักต้องการให้เสนอโปรโตคอล ใหม่อย่างสมบูรณ์และอาจขอรายงานความคืบหน้าของงานที่ท�ในช่วงสามปีล่วงหน้า ำ ทังกฎหมายการขยายการวิจยสุขภาพและกฎหมายสวัสดิภาพสัตว์บงคับให้ IACUC ตรวจสถานทีส�หรับ ้ ั ั ่ำ ดูแลและการใช้สตว์ ตลอดจนบริเวณทีใช้ส�หรับการทำ�ศัลยกรรมสัตว์ทกๆหกเดือน โดยการเป็นส่วนหนึงของ ั ่ ำ ุ ่ โปรแกรม PAM บางสถาบันรวมการตรวจสถานที่ใช้สัตว์พร้อมกันกับการทบทวนโปรโตคอลการใช้สัตว์ พื้นที่ ทำ�การศึกษาที่อื่นๆอาจถูกตรวจบ่อยมากหรือน้อยกว่า โดยคำ�นึงความเสี่ยงภัยอันตรายต่อสัตว์และผู้ดูแล ตัวอย่างต่างๆของกลยุทธ์การกำ�กับดูแลอย่างสัมฤทธ์ผลได้แก่ การตรวจสอบพื้นที่การทำ�ศัลยกรรมรวมทั้งเครื่องดมยาสลบ การใช้เทคนิคปลอดเชื้ออย่าง เหมาะสม และ การจัดการและการใช้สารควบคุม (controlled substances) การทบทวนประเด็นสุขภาพและความปลอดภัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโปรโตคอล การทบทวนบันทึกการวางยาสลบและการทำ�ศัลยกรรม การทบทวนเป็นประจำ�ถึงผลกระทบต่างๆที่เป็นผลร้ายต่อสัตว์หรือไม่คาดคิด การสังเกตการณ์วิธีการปฏิบัติและวิธีดำ�เนินการในห้องปฏิบัติการ และการปฏิบัติตามโปรโตคอล ที่ได้รับอนุมัติ สถาบันอาจพิจารณาการใช้เจ้าหน้าที่ทางสัตวแพทย์ และ/หรือ นักเทคนิคผู้ดูแลสัตว์ให้สังเกตวิธีการ ปฏิบตทมความเสียงต่อการเกิดผลร้ายต่อสัตว์เพิมมากขึน (เช่น การศัลยกรรมรอดชีวตวิธใหม่ การศึกษาความ ั ิ ี่ ี ่ ่ ้ ิ ี เจ็บปวด การศึกษาการเจริญของเนื้องอก) และรายงานสิ่งที่พบมาให้ IACUC ทบทวน ควรปรับระดับการเป็น ทางการและความเข้มงวดของ PAM ให้เหมาะกับขนาดและความซับซ้อนของสถาบัน และในทุกกรณีควรส่ง เสริมวัฒนธรรมของการดูแลโดยการเน้นเรื่องความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ (Klein and Bayne 2007) ไม่ว่าใช้วิธี การใดหรือให้ใครทำ�และประสานงานการกำ�กับดูแล โปรแกรม PAM มักประสบความสำ�เร็จมากกว่าเมือสถาบัน ่ สนับสนุนความเป็นหุ้นส่วนทางการศึกษากับนักวิจัย (Bank and Norton 2008; Collins 2008; Dale 2008; Lowman 2008; Plante and James 2008; Van Sluyters 2008)

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 35 การวางแผนรับภัยพิบัติและการเตรียมความพร้อมรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน สถานที่สำ�หรับสัตว์อาจตกเป็นประเด็นเรื่องสภาวะที่ไม่คาดคิดทางภัยพิบัติซึ่งส่งผลให้เกิดความล้ม เหลวของระบบวิกฤตต่างๆ หรือ การขาดแคลนบุคลากรอย่างมีนยสำ�คัญ หรือ เหตุการณ์ทไม่ได้คาดหวังอืนๆ ั ี่ ่ ทีสงผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการดูแลและความเป็นอยูทดของสัตว์ทมอยู่ (ILAR 2010) จึงควรมีแผนภัยพิบติ ่ ่ ่ ี่ ี ี่ ี ั แผนควรกำ�หนดการสนองตอบทีจ�เป็นเพือป้องกันความเจ็บปวด การทรมานและการตายของสัตว์เนืองจาก ่ำ ่ ่ การสูญเสียระบบต่างๆ เช่นระบบควบคุมการระบายอากาศ การให้ความเย็น การให้ความร้อน หรือการให้ น้ำ�ดืม ถ้าทำ�ได้แผนควรอธิบายว่าจะมีการคุมครองสัตว์ซึ่งจำ�เป็นสำ�หรับกิจกรรมการวิจัยทีสำ�คัญมากหรือไม่ ่ ้ ่ สามารถหาทดแทนอีกได้อย่างไร ความรูเรืองพืนทีทางธรณีวทยาอาจให้ค�แนะนำ�ว่ามีความเป็นไปได้ของการ ้ ่ ้ ่ ิ ำ เกิดภัยพิบัติบางประเภท ควรจัดทำ�แผนรับภัยพิบตดวยความร่วมมือของนักวิจย โดยคำ�นึงทังการจัดอันดับความสำ�คัญก่อนหลัง ั ิ ้ ั ้ สำ�หรับการแยกประเภทประชากรสัตว์ทตายในภัยพิบติ ตลอดจนความจำ�เป็นและทรัพยากรของสถาบัน สัตว์ ี่ ั ที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายหรือป้องกันจากผลที่เกิดขึ้นภายหลังภัยพิบัติจะต้องถูกทำ�การุณยฆาต แผนรับภัย พิบัติควรกำ�หนดบุคลากรที่จำ�เป็นผู้ควรได้รับการฝึกอบรมล่วงหน้าให้ทราบการปฏิบัติตามแผนอย่างลุล่วง ควรมีความพยายามต่างๆเพื่อรับรองความปลอดภัยของบุคลากรและให้ทางเข้าแก่บุคลากรที่จำ�เป็นระหว่าง หรือหลังเกิดภัยพิบติ แผนเช่นนีควรได้รบอนุมตโดยสถาบันและเป็นส่วนหนึงของแผนตอบสนองภัยพิบตรวม ั ้ ั ั ิ ่ ั ิ ทัวทุกด้าน ซึงถูกประสานความร่วมมือโดย IO หรือผูบริหารในระดับสูงอีกท่านหนึง ควรจัดทำ�สำ�เนาหนึงฉบับ ่ ่ ้ ่ ่ ของแผนให้ผพทกษ์กฎหมายและบุคลากรฉุกเฉินแสดงข้อคิดเห็นและรวมแผนเชือมต่อกับการวางแผนทีกว้าง ู้ ิ ั ่ ่ ขวางและครอบคลุมทั้งพื้นที่ (Volgeweid 1998) เอกสารอ้างอิง AAALAC [Association for Assessment and Accreditation of Laboratory Animal Care] Inter- national. 2003. Who’s responsible for offsite animals? Connection Spring:6-11, 13. Available at www.aaalac.org/publications. ACLAM [American College of Laboratory Animal Medicine]. 1996. Adequate Veterinary Care. Available at www.aclam.org/education/guidelines/position_adequatecare.html; accessed May 10, 2010. Anderson LC. 2007. Institutional and IACUC responsibilities for animal care and use education and training programs. ILAR J 48:90-95. AVMA [American Veterinary Medical Association]. 2008. Introduction to Ergonomics Guide- lines for Veterinary Practice. April. Available at www.avma.org/issues/policy/ergonomics. asp; accessed May 10, 2010. AVMA. 2010. Programs accredited by the AVMA Committee on Veterinary Technician Education and Activities (CVTEA). Available at www.avma.org/education/cvea/vettech_programs/vettech_ pro grams.asp; accessed January 4, 2010. Banks RE, Norton JN. 2008. A sample postapproval monitoring program in academia. ILAR J 49:402-418. Bayne KA, Garnett NL. 2008. Mitigating risk, facilitating research. ILAR J 49:369-371.

36 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Boissy A, Manteuffel G, Jensen MB, Moe RO, Spruijt B, Keeling L, Winckler C, Forkman B, Dimitrov I, Langbein J, Bakken M, Veissier I, Aubert A. 2007. Assesment of positive emotions in animals to improve their welfare. Physiol Behav 92:375-397. Brown RE, Stanford L, Schellinck HM. 2000. Developing standardized behavioral tests for knockout and mutant mice. ILAR J 41:163-174. Bush RK. 2001. Assessment and treatment of laboratory animal allergy. ILAR J 42:55-64. Bush RK, Stave GM. 2003. Laboratory animal allergy: An update. ILAR J 44:28-51. CCAC [Canadian Council on Animal Care]. 1993. Guide to the Care and Use of Experimental Animals, vol 1, 2nd ed. Olfert ED, Cross BM, McWilliam AA, eds. Ontario: CCAC. CCAC. 1998. Guidelines on Choosing an Appropriate Endpoint in Experiments Using Animals for Research, Teaching and Testing. Ottawa. Available at www.ccac.ca/en/CCAC_ Programs/Guidelines_Policies/gdlines/endpts/appopen.htm; accessed May 10, 2010. CDC [Centers for Disease Control and Prevention] and NIH [National Institutes of Health]. 2000. Primary Containment for Biohazards: Selection, Installation and Use of Biological Safety Cabinets, 2nd ed. Washington: Government Printing Office. Available at www.cdc. gov/od/ohs/biosfty/bsc/bsc.htm; accessed May 25, 2010. CFR [Code of Federal Regulations]. 1984a. Title 10, Part 20. Standards for Protection against Radiation. Washington: Office of the Federal Register. CFR. 1984b. Title 29, Part 1910, Occupational Safety and Health Standards, Subpart G, Occupational Health and Environmental Control, and Subpart Z, Toxic and Hazardous Substances. Washington: Office of the Federal Register. CFR. 1984c. Title 29, Part 1910. Occupational Safety and Health Standards; Subpart I, Personal Protective Equipment. Washington: Office of the Federal Register. CFR. 1998. Title 29, Section 1910.120. Inspection Procedures for the Hazardous Waste Operations and Emergency Response Standard. Washington: Office of the Federal Register. April 24. CFR. 2002a. Title 42, Part 73. Possession, Use and Transfer of Select Agents and Toxins. Washing- ton: Office of the Federal Register. December 13. CFR. 2002b. Title 7, Part 331; and Title 9, Part 121. Agricultural Bioterrorism Protection Act of 2002: Possession, Use and Transfer of Select Agents and Toxins. Washington: Office of the Federal Register. December 13. Cohen JI, Davenport DS, Stewart JA, Deitchmann S, Hilliard JK, Chapman LE, B Virus Working Group. 2002. Recommendations for prevention of and therapy for exposure to B virus (Cercopithecine herpesvirus 1). Clin Infect Dis 35:1191-1203. Colby LA, Turner PV, Vasbinder MA. 2007. Training strategies for laboratory animal veterinarians: Challenges and opportunities. ILAR J 48:143-155. Collins JG. 2008. Postapproval monitoring and the IACUC. ILAR J 49:388-392. Conarello SL, Shepard MJ. 2007. Training strategies for research investigators and technicians. ILAR J 48:120-130. Crawley JN. 1999. Behavioral phenotyping of transgenic and knockout mice: Experimental design and evaluation of general health, sensory functions, motor abilities, and specific behavioral tests. Brain Res 835:18-26. Dale WE. 2008. Postapproval monitoring and the role of the compliance office. ILAR J 49:393-401. Dennis MB. 1999. Institutional animal care and use committee review of genetic engineering. In: Gonder JC, Prentice ED, Russow L-M, eds. Genetic Engineering and Animal Welfare: Preparing for the 21st Century. Greenbelt MD: Scientists Center for Animal Welfare. Dennis MB. 2000. Humane endpoints for genetically engineered animal models. ILAR J 41:94-98.

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 37 DHHS [Department of Health and Human Services]. 2009. Biosafety in Microbiological and Biomedical Laboratories, 5th ed. Chosewood LC, Wilson DE, eds. Washington: Government Printing Office. Available at http://www.cdc.gov/biosafety/publications/bmbl5/ index.htm; accessed July 30, 2010. FASS [Federation of Animal Science Societies]. 2010. Guide for the Care and Use of Agricul- tural Animals in Research and Teaching, 3rd ed. Champlain, IL: FASS. Fechter LD. 1995. Combined effects of noise and chemicals. Occup Med 10:609-621. Foshay WR, Tinkey PT. 2007. Evaluating the effectiveness of training strategies: Performance goals and testing. ILAR J 48:156-162. Frasier D, Talka J. 2005. Facility design considerations for select agent animal research. ILAR J 46:23-33. Gonder JC. 2002. Regulatory compliance. In: Suckow MA, Douglas FA, Weichbrod RH, eds. Management of Laboratory Animal Care and Use Programs. Boca Raton, FL: CRC Press. p 163-185. Gondo Y. 2008. Trends in large-scale mouse mutagenesis: From genetics to functional genom- ics. Nat Rev Genet 9:803-810. Gordon S. 2001. Laboratory animal allergy: A British perspective on a global problem. ILAR J 42:37-46. Gordon S, Wallace J, Cook A, Tee RD, Newman Taylor AJ. 1997. Reduction of exposure to laboratory animal allergens in the workplace. Clin Exp Allergy 27:744-751. Greene ME, Pitts ME, James ML. 2007. Training strategies for institutional animal care and use committee (IACUC) members and the institutional official (IO). ILAR J 48:131-142. Harrison DJ. 2001. Controlling exposure to laboratory animal allergens. ILAR J 42:17-36. Heiderstadt KM, McLaughlin RM, Wright DC, Walker SE, Gomez-Sanchez CE. 2000. The effect of chronic food and water restriction on open-field behaviour and serum corticosterone levels in rats. Lab Anim 34:20-28. Hendriksen CFM, Steen B. 2000. Refinement of vaccine potency testing with the use of humane endpoints. ILAR J 41:105-113. Huerkamp MJ, Gladle MA, Mottet MP, Forde K. 2009. Ergonomic considerations and allergen management. In: Hessler JR, Lerner NMD, eds. Planning and Designing Research Animal Facilities. San Diego: Elsevier. p 115-128. ILAR [Institute for Laboratory Animal Research, National Research Council]. 2000. Humane Endpoints for Animals Used in Biomedical Research and Testing. ILAR J 41:59-123. ILAR. 2010. Disaster planning and management. ILAR J 51:101-192. IRAC [Interagency Research Animal Committee]. 1985. US Government Principles for Utilization and Care of Vertebrate Animals Used in Testing, Research, and Training. Federal Register, May 20, 1985. Washington: Office of Science and Technology Policy. Available at http://oacu.od.nih.gov/regs/USGovtPrncpl.htm; accessed May 10, 2010. Klein HJ, Bayne KA. 2007. Establishing a culture of care, conscience, and responsibility: Addressing the improvement of scientific discovery and animal welfare through science based performance standards. ILAR J 48:3-11. Kreger MD. 1995. Training Materials for Animal Facility Personnel: AWIC Quick Bibliography Series, 95-08. Beltsville MD: National Agricultural Library. Lassnig C, Kolb A, Strobl B, Enjuanes L, Müller M. 2005. Studying human pathogens in human models: Fine tuning the humanized mouse. Transgenic Res 14:803-806. Laule GE, Bloomsmith MA, Schapiro SJ. 2003. The use of positive reinforcement training techniques to enhance the care, management, and welfare of primates in the laboratory. J Appl Anim Welf Sci 6:163-173. Lowman RP. 2008. The institutional official and postapproval monitoring: The view from 10,000 feet. ILAR J 49:379-387.

38 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Mann MD, Prentice ED. 2004. Should IACUCs review scientific merit of animal research projects? Lab Anim (NY) 33:26-31. McCullough NV. 2000. Personal respiratory protection. In: Fleming DO, Hunt DL, eds. Biological Safety Principles and Practices. Washington: ASM Press. p 383-404. Meunier LD. 2006. Selection, acclimation, training and preparation of dogs for the research setting. ILAR J 47:326-347. Midwest Plan Service. 1987. Structures and Environment Handbook, 11th ed. rev. Ames: Midwest Plan Service, Iowa State University. Miller G. 2007. Science and the public: Animal extremists get personal. Science 318:1856-1858. Moorehead RA, Sanchez OH, Baldwin RM, Khokha R. 2003. Transgenic overexpression of IGF-II induces spontaneous lung tumors: A model for human lung adenocarcinoma. Oncogene 22:853-857. Morton DB. 2000. A systematic approach for establishing humane endpoints. ILAR J 41:80-86. Morton WR, Knitter GH, Smith PV, Susor TG, Schmitt K. 1987. Alternatives to chronic restraint of nonhuman primates. JAVMA 191:1282-1286. Mumphrey SM, Changotra H, Moore TN, Heimann-Nichols ER, Wobus CE, Reilly MJ, Mogha- damfalahi M, Shukla D, Karst SM. 2007. Murine norovirus 1 infection is associated with histopathological changes in immunocompetent hosts, but clinical disease is prevented by STAT1-dependent interferon responses. J Virol 81:3251-3263. Newcomer CE. 2002. Hazard identification and control. In: Suckow MA, Douglas FA, Weich- brod RH, eds. Management of Laboratory Animal Care and Use Programs. Boca Raton, FL: CRC Press. p 291-324. NIH [National Institutes of Health]. 2002. Guidelines for Research Involving Recombinant DNA Molecules. April. Available at http://oba.od.nih.gov/rdna/nih_guidelines_oba.html; accessed May 20, 2010. NIH. 2008. Guidelines for the Use of Non-Pharmaceutical-Grade Chemicals/Compounds in Laboratory Animals. Animal Research Advisory Committee, Office of Animal Care and Use, NIH. Available at http://oacu.od.nih.gov/ARAC/documents/Pharmaceutical_Com- pounds.pdf; accessed May 20, 2010. NIOSH [National Institute for Occupational Safety and Health]. 1997a. Elements of Ergonomics Programs: A Primer Based on Workplace Evaluations of Musculoskeletal Disorders (NIOSH Publication No. 97-117). Cincinnati: NIOSH. p 16-24. NIOSH. 1997b. Musculoskeletal Disorders and Workplace Factors: A Critical Review of Epi- demiologic Evidence for Work-Related Musculoskeletal Disorders of the Neck, Upper Ex- tremity, and Low Back. Bernard B, ed. Cincinnati: DHHS, PHS, CDDC, NIOSH. p 1-12. NRC [National Research Council]. 1991. Education and Training in the Care and Use of Labo- ratory Animals: A Guide for Developing Institutional Programs. Washington: National Academy Press. NRC. 1997. Occupational Health and Safety in the Care and Use of Research Animals. Wash- ington: National Academy Press. NRC. 2003a. Occupational Health and Safety in the Care and Use of Nonhuman Primates. Washington: National Academies Press. NRC. 2003b. Guidelines for the Care and Use of Mammals in Neuroscience and Behavioral Research. Washington: National Academies Press. NRC. 2004. Biotechnology Research in an Age of Terrorism. Washington: National Academies Press. OECD [Organisation for Economic Co-operation and Development]. 1999. Guidance Docu- ment on Humane Endpoints for Experimental Animals Used in Safety Evaluation Studies. Paris: OECD.

โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 39 Olfert ED, Godson DL. 2000. Humane endpoints for infectious disease animal models. ILAR J 41:99-104. OSHA [Occupational Safety and Health Administration]. 1998a. Occupational Safety and Health Standards. Subpart G, Occupational Health and Environmental Controls (29 CFR 1910). Washington: Department of Labor. OSHA. 1998b. Occupational Safety and Health Standards. Subpart Z, Toxic and Hazardous Sub- stances, Bloodborne Pathogens (29 CFR 1910.1030). Washington: Department of Labor. OSHA. 1998c. Occupational Safety and Health Standards. Subpart G, Occupational Health and Environmental Controls, Occupational Noise Exposure (29 CFR 1910.95). Washing- ton: Department of Labor. OSHA. 1998d. Occupational Safety and Health Standards. Subpart I, Personal Protective Equip- ment, Respiratory Protection (29 CFR 1910.134). Washington: Department of Labor. Paster EV, Villines KA, Hickman DL. 2009. Endpoints for mouse abdominal tumor models: Refinement of current criteria. Comp Med 59:234-241. PHS [Public Health Service]. 2002. Public Health Service Policy on Humane Care and Use of Laboratory Animals. Department of Health and Human Services, National Institutes of Health, Office of Laboratory Animal Welfare. Available at http://grants.nih.gov/grants/ olaw/references/phspol.htm; accessed January 14, 2010. PL [Public Law] 104-191. 1996. Health Insurance Portability and Accountability Act (HIPAA) of 1996. Washington: Government Printing Office. PL 107-56. 2001. Uniting and Strengthening America by Providing Appropriate Tools Required to Intercept and Obstruct Terrorism (USA PATRIOT) Act of 2001. Washington: Govern- ment Printing Office. October 26. PL 107-188. 2002. Public Health Security and Bioterrorism Preparedness and Response Act of 2002. Washington: Government Printing Office. June 12. Plante A, James ML. 2008. Program oversight enhancements (POE): The big PAM. ILAR J 49:419-425. Prescott MJ, Buchanan-Smith HM. 2003. Training nonhuman primates using positive reinforce- ment techniques. J Appl Anim Welf Sci 6:157-161. Pritt S, Duffee N. 2007. Training strategies for animal care technicians and veterinary technical staff. ILAR J 48:109-119. Reeb-Whitaker CK, Harrison, DJ, Jones RB, Kacergis JB, Myers DD, Paigen B. 1999. Control strategies for aeroallergens in an animal facility. J Allergy Clin Immunol 103:139-146. Reinhardt V. 1991. Training adult male rhesus monkeys to actively cooperate during inhomecage venipuncture. Anim Technol 42:11-17. Reinhardt V. 1995. Restraint methods of laboratory non-human primates: A critical review. Anim Welf 4:221-238. Richmond JY, Hill RH, Weyant RS, Nesby-O’Dell SL, Vinson PE. 2003. What’s hot in animal biosafety? ILAR J 44:20-27. Rowland NE. 2007. Food or fluid restriction in common laboratory animals: Balancing welfare considerations with scientific inquiry. Comp Med 57:149-160. Sargent EV, Gallo F. 2003. Use of personal protective equipment for respiratory protection. ILAR J 44:52-56. Sass N. 2000. Humane endpoints and acute toxicity testing. ILAR J 41:114-123. Sauceda R, Schmidt MG. 2000. Refining macaque handling and restraint techniques. Lab Anim 29:47-49. Schweitzer IB, Smith E, Harrison DJ, Myers DD, Eggleston PA, Stockwell JD, Paigen B, Smith AL. 2003. Reducing exposure to laboratory animal allergens. Comp Med 53:487-492. Seward JP. 2001. Medical surveillance of allergy in laboratory animal handlers. ILAR J 42:47-54. Silverman J, Sukow MA, Murthy S, eds. 2007. The IACUC Handbook, 2nd ed. Boca Raton, FL: CRC Press.

40 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Stokes WS. 2000. Reducing unrelieved pain and distress in laboratory animals using humane endpoints. ILAR J 41:59-61. Stokes WS. 2002. Humane endpoints for laboratory animals used in regulatory testing. ILAR J 43:S31-S38. Stricklin WR, Mench JA. 1994. Oversight of the use of agricultural animals in university teaching and research. ILAR News 36:9-14. Stricklin WR, Purcell D, Mench JA. 1990. Farm animals in agricultural and biomedical re- search. In: The Well-Being of Agricultural Animals in Biomedical and Agricultural Re- search: Proceedings from a SCAW-Sponsored Conference, September 6-7. Washington: Scientists Center for Animal Welfare. p 1-4. Thomann WR. 2003. Chemical safety in animal care, use, and research. ILAR J 44:13-19. Thulin H, Bjorkdahl M, Karlsson AS, Renstrom A. 2002. Reduction of exposure to laboratory animal allergens in a research laboratory. Ann Occup Hyg 46:61-68. Tillman P. 1994. Integrating agricultural and biomedical research policies: Conflicts and opportunities. ILAR News 36:29-35. Toth LA. 1997. The moribund state as an experimental endpoint. Contemp Top Lab Anim Sci 36:44-48. Toth LA. 2000. Defining the moribund condition as an experimental endpoint for animal research. ILAR J 41:72-79. Toth LA, Gardiner TW. 2000. Food and water restriction protocols: Physiological and behavioral considerations. Contemp Top Lab Anim Sci 39:9-17. UKCCCR [United Kingdom Coordinating Committee on Cancer Research]. 1997. Guidelines for the Welfare of Animals in Experimental Neoplasia, 2nd ed. London: UKCCCR. USC [United States Code]. Title 42, Chapter 6a, Subchapter III, Part H, Section 289d: Animals in Research. Available at http://uscode.house.gov/download/pls/42CGA.txt. USDA [US Department of Agriculture]. 1985. 9 CFR 1A. (Title 9, Chapter 1, Subchapter A): Animal Welfare. Available at http://ecfr.gpoaccess.gov/cgi/t/text/text-idx?sid=8314313bd 7adf2c9f1964e2d82a88d92andc=ecfrandtpl=/ecfrbrowse/Title09/9cfrv1_02.tpl; accessed January 14, 2010. USDA. 1997a. APHIS Policy #14, “Multiple Survival Surgery: Single vs. Multiple Procedures” (April 14). Available at www.aphis.usda.gov/animal_welfare/downloads/policy/policy14. pdf; accessed January 4, 2010. USDA. 1997b. APHIS Policy #3, “Veterinary Care” (July 17). Available at www.aphis.usda. gov/animal_welfare/downloads/policy/policy3.pdf; accessed January 9, 2010. USDA. 2002. Facilities Design Standards. Manual 242.1. Available at www.afm.ars.usda. gov/ppweb/PDF/242-01M.pdf; accessed May 10, 2010. Van Sluyters RC. 2008. A guide to risk assessment in animal care and use programs: The meta- phor of the 3-legged stool. ILAR J 49:372-378. Yeates JW, Main DCJ. 2009. Assesment of positive welfare: A review. Vet Rev 175:293-300. Vogelweid CM. 1998. Developing emergency management plans for university laboratory animal programs and facilities. Contemp Top Lab Anim Sci 37:52-56. Wallace J. 2000. Humane endpoints and cancer research. ILAR J 41:87-93. Wolff A, Garnett N, Potkay S, Wigglesworth C, Doyle D, Thornton, D. 2003. Frequently asked questions about the Public Health Service Policy on Humane Care and Use of Laboratory Animals. Lab Anim 32(9):33-36. Wolfle TL, Bush RK. 2001. The science and pervasiveness of laboratory animal allergy. ILAR J 42:1-3. Wood RA. 2001. Laboratory animal allergens. ILAR J 42:12-16.

Next: 3 (Environment, Housing, and Management) »
Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version Get This Book
×
 Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version
MyNAP members save 10% online.
Login or Register to save!
Download Free PDF

This report is the Thai translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition.

A respected resource for decades, the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals has been updated by a committee of experts, taking into consideration input from the scientific and laboratory animal communities and the public at large. The Guide incorporates new scientific information on common laboratory animals, including aquatic species, and includes extensive references. It is organized around major components of animal use:

  • Key concepts of animal care and use. The Guide sets the framework for the humane care and use of laboratory animals.
  • Animal care and use program. The Guide discusses the concept of a broad Program of Animal Care and Use, including roles and responsibilities of the Institutional Official, Attending Veterinarian and the Institutional Animal Care and Use Committee.
  • Animal environment, husbandry, and management. A chapter on this topic is now divided into sections on terrestrial and aquatic animals and provides recommendations for housing and environment, husbandry, behavioral and population management, and more.
  • Veterinary care. The Guide discusses veterinary care and the responsibilities of the Attending Veterinarian. It includes recommendations on animal procurement and transportation, preventive medicine (including animal biosecurity), and clinical care and management. The Guide addresses distress and pain recognition and relief, and issues surrounding euthanasia.
  • Physical plant. The Guide identifies design issues, providing construction guidelines for functional areas; considerations such as drainage, vibration and noise control, and environmental monitoring; and specialized facilities for animal housing and research needs.

The Guide for the Care and Use of Laboratory Animals provides a framework for the judgments required in the management of animal facilities. This updated and expanded resource of proven value will be important to scientists and researchers, veterinarians, animal care personnel, facilities managers, institutional administrators, policy makers involved in research issues, and animal welfare advocates.

READ FREE ONLINE

  1. ×

    Welcome to OpenBook!

    You're looking at OpenBook, NAP.edu's online reading room since 1999. Based on feedback from you, our users, we've made some improvements that make it easier than ever to read thousands of publications on our website.

    Do you want to take a quick tour of the OpenBook's features?

    No Thanks Take a Tour »
  2. ×

    Show this book's table of contents, where you can jump to any chapter by name.

    « Back Next »
  3. ×

    ...or use these buttons to go back to the previous chapter or skip to the next one.

    « Back Next »
  4. ×

    Jump up to the previous page or down to the next one. Also, you can type in a page number and press Enter to go directly to that page in the book.

    « Back Next »
  5. ×

    To search the entire text of this book, type in your search term here and press Enter.

    « Back Next »
  6. ×

    Share a link to this book page on your preferred social network or via email.

    « Back Next »
  7. ×

    View our suggested citation for this chapter.

    « Back Next »
  8. ×

    Ready to take your reading offline? Click here to buy this book in print or download it as a free PDF, if available.

    « Back Next »
Stay Connected!