National Academies Press: OpenBook
« Previous: 4 (Veterinary Care)
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 134
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 135
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 136
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 137
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 138
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 139
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 140
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 141
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 142
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 143
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 144
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 145
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 146
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 147
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 148
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 149
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 150
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 151
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 152
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 153
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 154
Suggested Citation:"5 (Physical Plant)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 155

Below is the uncorrected machine-read text of this chapter, intended to provide our own search engines and external engines with highly rich, chapter-representative searchable text of each book. Because it is UNCORRECTED material, please consider the following text as a useful but insufficient proxy for the authoritative book pages.

5 กายภาพของสถานที่ (Physical Plant) การพิจารณาเรื่องทั่วไป ส ถานที่ที่ถูกวางแผนดี ออกแบบดี ปลูกสร้างอย่างดี บำ�รุงรักษาและจัดการอย่างถูกต้องเป็นส่วน ประกอบสำ�คัญของการดูแลและการใช้สตว์อย่างมีมนุษยธรรม และให้ความสะดวกต่อการปฏิบตงาน ั อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดและปลอดภัย (ดูภาคผนวก ก. การออกแบบและก่อสร้างสถานทีส�หรับ ่ำ ั ิ สัตว์) การออกแบบและขนาดของสถานที่ส�หรับสัตว์ขึ้นอยู่กับขอบเขตภารกิจด้านงานวิจัยของสถาบัน สัตว์ ำ ที่อาศัยอยู่ ความสัมพันธ์ทางกายภาพกับส่วนอื่นๆของสถาบัน และที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ การวางแผนและการออกแบบอย่างมีประสิทธิผลควรได้รบความเห็นจากบุคลากรผูมประสบการณ์ดาน ั ้ ี ้ การออกแบบสถานทีส�หรับสัตว์ วิศวกรรมและการดำ�เนินงาน ตลอดจนจากตัวแทนของผูใช้งานสถานทีตาม ่ ำ ้ ่ ความมุ่งหมาย การศึกษาจลนศาสตร์ของของเหลวด้วยคอมพิวเตอร์ (Computational fluid dynamics, CFD) ข้อมูลของอาคารและเอกสารอ้างอิงเกียวกับการวิเคราะห์การใช้พนทีอาจให้ประโยชน์เมือมีการออกแบบสถาน ่ ื้ ่ ่ ที่และกรง (Eastman et al. 2008; Reynolds 2008; Ross et al. 2009) ควรออกแบบและปลูกสร้างสถานที่ สำ�หรับสัตว์โดยสอดคล้องกับประมวลกฎหมายการปลูกสร้างอาคารของรัฐและของท้องถิ่นทั้งหมด การ วางแผนและออกแบบในบริเวณที่มีแผ่นดินไหว ควรรวบรวมข้อแนะนำ�ของสภาเพื่ออาคารที่ปลอดภัยจาก แผ่นดินไหว (BSSC 2001; Volgeweid et al 2005) เพราะว่าการพัฒนาโมเดลและการใช้สัตว์สามารถถูกคาด การณ์ว่ามีความเปลี่ยนแปลงตลอดช่วงอายุการใช้สถานที่สำ�หรับสัตว์ สถานที่จึงควรถูกออกแบบให้สนอง ความเปลียนแปลงการใช้งานต่างๆ หน่วยสำ�เร็จรูปต่างๆ (ได้แก่ ตูพวงชนิดทีถกสังทำ�ตามแบบหรือโครงสร้าง ่ ้ ่ ่ ู ่ ต่างๆ ที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นมา) ควรทำ�ตามบรรทัดฐานการก่อสร้าง ที่ได้อธิบายไว้ในบทนี้ 133

134 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ควรเลือกวัสดุกอสร้างสถานทีส�หรับสัตว์ให้เอือต่อการปฏิบตงานอย่างมีประสิทธิภาพและถูกสุขอนามัย ่ ่ำ ้ ั ิ พื้นผิวภายในควรเป็นวัสดุที่มีความคงทน กันความชื้นและสัตว์ก่อความรำ�คาญ ทนไฟและไม่มีตะเข็บ ซึ่งพื้น ผิวควรทนทานอย่างสูงต่อผลกระทบต่างๆ ของสารทำ�ความสะอาด ต่อการขัดถู การฉีดน้ำ�ความดันสูงและ การกระทบกระแทก สีและสารเคลือบมันบนพืนผิวควรปลอดสารทีเป็นพิษถ้าสัตว์ตองมีการสัมผัสโดยตรง ใน ้ ่ ้ การก่อสร้างสถานที่สำ�หรับสัตว์กลางแจ้งควรพิจารณาพื้นผิวที่มีส่วนประกอบซึ่งคงทน และง่ายต่อการดูแล รักษา สถานที่ตั้ง การจัดการสัตว์อย่างมีคุณภาพ และมีความสบายและป้องกันสุขภาพของมนุษย์ต้องจัดให้มีการแยก ส่วนสถานที่ของสัตว์ออกจากบริเวณต่างๆ ของบุคลากร ได้แก่ สำ�นักงานและห้องประชุม การแบ่งส่วนที่ดี สามารถทำ�ได้โดยการแยกบริเวณเลี้ยงสัตว์ในอาคารอิสระ ปีกหนึ่ง แยกชั้นหรือแยกห้อง การออกแบบอย่าง รอบคอบควรทำ�ให้บริเวณเลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่ถัดจากหรือใกล้ห้องปฏิบัติการเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่ควรถูกกั้นแยก ออกจากห้องปฏิบัติการด้วยสิ่งกีดกัน เช่น ทางเข้าที่ปิดล็อคได้ ทางเดิน หรือ พื้น ข้อควรคำ�นึงเพิ่มเติม ได้แก่ ผลกระทบของเสียงและความสั่นที่เกิดขึ้นภายในสถานที่และจากบริเวณล้อมรอบอาคาร ตลอดจนความ ปลอดภัยของสถานที่ ควรให้สัตว์อาศัยอยู่ในส่วนของอาคารที่จัดไว้ หรือกำ�หนดเพื่อวัตถุประสงค์นั้น และไม่ให้อยู่ในห้อง ปฏิบตการเพียงเพือความสะดวกเท่านัน ถ้าต้องเลียงสัตว์ในบริเวณห้องปฏิบตการเพือตอบสนองจุดมุงหมาย ั ิ ่ ้ ้ ั ิ ่ ่ ทางวิทยาศาสตร์ของโปรโตคอล บริเวณแห่งนันควรเหมาะสมแก่การเก็บและดูแลสัตว์และมีการใช้อย่างจำ�กัด ้ เฉพาะระยะเวลาที่ต้องการ ถ้าจำ�เป็นควรมีการตรวจสอบเพื่อลดอันตรายที่เกี่ยวกับอาชีพซึ่งมีการสัมผัสสัตว์ ให้มีน้อยที่สุดทั้งในบริเวณการวิจัยและระหว่างการขนส่งไปมาระหว่างบริเวณ การรวมอยู่ที่ศูนย์กลางเปรียบเทียบกับการกระจายออกจากศูนย์กลาง ในกายภาพของสถานทีจดเป็นศูนย์กลาง จะมีพนทีการสนับสนุนการดูแลและใช้สตว์จะอยูถดจากพืนที่ ่ั ื้ ่ ั ่ั ้ ห้องสัตว์ ห้องเลียงและการใช้สตว์ในสถานทีทมการแยกออกจากศูนย์กลางจะมีอยูในพืนทีซงไม่ได้ก�หนดเพือ ้ ั ่ ี่ ี ่ ้ ่ ึ่ ำ ่ การดูแลและการใช้สตว์โดยเฉพาะเท่านันหรือถูกแยกห่างทางกายภาพออกจากพืนทีสนับสนุนและบุคลากรผู้ ั ้ ้ ่ ดูแลสัตว์ การมีสถานที่เป็นศูนย์กลางมักลดค่าใช้จ่ายการดำ�เนินการ เกิดการไหลเวียนของวัสดุอุปกรณ์และ บุคลากรสำ�หรับการดูแลสัตว์อย่างมีประสิทธิภาพกว่า มีการใช้การควบคุมสภาพแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ กว่าและมีการซ้ำ�ซ้อนของการบริการสนับสนุนต่างๆ น้อยกว่า การมีศูนย์กลางลดความจำ�เป็นสำ�หรับการ ขนส่งสัตว์ระหว่างห้องเลียงและตำ�แหน่งทีศกษา ด้วยเหตุนนจึงเป็นการลดความเสียงของความเครียดจากการ ้ ่ ึ ั้ ่ ขนส่งและการคุกคามต่อเชือโรคให้ลดน้อยลง จัดให้มความปลอดภัยเข้มงวดมากกว่าโดยการให้โอกาสในการ ้ ี ควบคุมการเข้าออกและเพิ่มความสะดวกในการตรวจสอบควบคุมพนักงานและสัตว์

กายภาพของสถานที่ 135 สถานที่แยกออกจากศูนย์กลางมักมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าในการสร้าง เพราะความต้องการระบบและการ ควบคุมสภาพแวดล้อมเป็นพิเศษในหลายๆที่ การมีอุปกรณ์ซ้ำ�กัน (เช่น เครื่องล้างกรง) อาจเป็นความจำ�เป็น หรือวัสดุต่างๆ ที่สกปรกอาจจำ�เป็นต้องถูกเคลื่อนย้ายไปไกลเพื่อผ่านกระบวนการ แต่การแยกออกจาก ศูนย์กลางอาจเป็นที่ต้องการสำ�หรับการบริการทางการวิจัยพิเศษเฉพาะ เช่น การฉายภาพ การกักกัน และ การอยู่ใกล้สถานที่วิจัยหรือเพื่อเหตุผลทางชีวนิรภัย การแยกออกจากศูนย์กลางอาจเป็นการจำ�เป็นเพื่อให้ ความสะดวกต่ออุปกรณ์ขนาดใหญ่หรือซับซ้อน เช่น การฉายภาพโดยคลื่นแม่เหล็ก (magnetic resonance imaging) หรือการยอมให้ผู้ใช้ซึ่งมาจากหลายสถานที่หรือต่างสถาบันใช้พื้นที่ร่วมกัน โอกาสการคุกคามโดย เชื้อโรคมีมากกว่าในสถานการณ์เหล่านี้ และควรคำ�นึงเป็นพิเศษเรื่องชีวนิรภัย รวมทั้งการขนส่งเข้าและออก จากพื้นที่ การกักกันก่อนและหลังการใช้พื้นที่วิจัยพิเศษ และการกำ�จัดการปนเปื้อนเชื้อจากสภาพแวดล้อม และอุปกรณ์ การตัดสินใจนำ�ไปสู่การเลือกสถานที่สำ�หรับสัตว์ระหว่างการเป็นศูนย์กลางหรือการแยกออกจาก ศูนย์กลาง ควรทำ�แต่เนิ่นๆ อย่างรอบคอบ และควรมีผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดร่วมด้วย บริเวณใช้งาน ควรใช้การตัดสินใจจากผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนากายภาพของสถานที่ซึ่งสามารถปฏิบัติงาน ทำ�หน้าที่ ได้และมีประสิทธิภาพเพื่อการดูแลและการใช้สัตว์ ขนาด ธรรมชาติและความหนาแน่นของสัตว์ ของโครงการ ของสถาบัน (ดูบทที่ 2) จะกำ�หนดสถานที่เฉพาะและบริเวณสนับสนุนที่จำ�เป็นต่างๆ ในอาคารซึ่งมีขนาดเล็ก ที่เลี้ยงสัตว์จำ�นวนน้อย หรือเลี้ยงสัตว์ภายใต้สภาวะพิเศษต่างๆ ได้แก่ อาคารที่ใช้เป็นพิเศษเฉพาะฝูงสัตว์ที่ ทราบชนิดของเชื้อที่มีอยู่ (gnotobiotic) หรือปลอดจากเชื้อชนิดใดโดยเฉพาะ (specific pathogen free, SPF) หรือสัตว์ในลู่วิ่ง คอกหรือเลี้ยงกลางแจ้ง อาจไม่จำ�เป็นต้องมีบริเวณที่ทำ�หน้าที่เฉพาะบางแห่งซึ่งได้แสดง รายการไว้ข้างล่าง หรืออาจรวมบริเวณเหล่านี้ไว้ในบริเวณอเนกประสงค์ ต้องมีพื้นที่เพื่อสิ่งเหล่านี้ ให้สัตว์อาศัยอยู่ ดูแล และสุขาภิบาล รับสัตว์ กักกันโรค และแยกออกจากกัน และ/หรือ ทำ�ให้ปลอดเชื้อบางอย่างด้วย เช่น การผ่าตัด เอาลูกออกทางหน้าท้อง (rederivation) แยกสัตว์แต่ละชนิดออกจากกัน หรือแบ่งแยกสัตว์แต่ละโครงการเมื่อจำ�เป็น เก็บสัมภาระ สถานที่อเนกประสงค์สำ�หรับสัตว์ยังประกอบด้วยสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง หรือพื้นที่ต่อเนื่อง หรือใกล้เคียงกับบริเวณที่สัตว์อาศัยอยู่เพื่อภารกิจ ต่างๆ ได้แก่ ศัลยกรรม การดูแลอย่างเข้มงวด การผ่าพิสูจน์ซาก การฉายรังสี การเตรียมอาหาร พิเศษ การปฏิบัติต่างๆ เกี่ยวกับการทดลอง การทดสอบพฤติกรรม การฉายภาพ การรักษาทาง คลินิกและห้องปฏิบัติการวินิจฉัย

136 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สถานที่หรืออุปกรณ์เพื่อเก็บควบคุมโดยเฉพาะ (containment) ถ้าใช้สารอันตรายทางชีวภาพ ทางกายภาพหรือทางเคมี สถานทีสกัดกันเชือสำ�หรับทีอยูสตว์ฟนแทะปลอดเชือเฉพาะ โดยเฉพาะอย่างยิงสัตว์มความสำ�คัญ ่ ้ ้ ่ ่ ั ั ้ ่ ี มากที่ถูกดัดแปลงทางพันธุกรรม หรือ สัตว์ที่เป็นโมเดลโรคซึ่งไม่สามารถหาทดแทนได้ บริเวณรับและเก็บอาหาร วัสดุรองนอน เวชภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพและครุภัณฑ์ต่างๆ พื้นที่สำ�หรับอุปกรณ์ล้างทำ�ความสะอาด และทำ�ให้ปลอดเชื้อและวัสดุภัณฑ์ต่างๆ และโดยขึ้นกับ ปริมาณของงาน มีพื้นที่สำ�หรับเครื่องล้างกรง ขวดน้ำ� เครื่องแก้ว ชั้นสำ�หรับวางกรงและถังขยะ มีพื้นที่สำ�หรับอ่างน้ำ�เอนกประสงค์ เครื่องทำ�ให้ปลอดเชื้อ (sterilizer) สำ�หรับอุปกรณ์ อาหาร และวัสดุรองนอน และบริเวณเฉพาะเพื่อแยกเก็บอุปกรณ์ที่สกปรกและสะอาด บริเวณเพื่อเก็บขยะก่อนเผาหรือก่อนนำ�ออกไปทิ้ง บริเวณเพื่อเก็บแช่เย็น หรือกำ�จัดซากสัตว์ บริเวณสำ�หรับพนักงานธุรการ และหัวหน้าพนักงาน รวมทั้งพื้นที่เพื่อการอบรมและการศึกษา ของพนักงาน ห้องอาบน้ำ� อ่างล้างมือ ตู้เก็บของใช้ต่างๆ ห้องสุขา และบริเวณพักผ่อนสำ�หรับบุคลากร อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยต่างๆ ได้แก่ ระบบบัตรแทนกุญแจ การควบคุมเฝ้าระวังด้วยระบบ อิเลคโทรนิค และระบบเตือนภัย บริเวณสำ�หรับบำ�รุงดูแลและซ่อมแซมระบบและอุปกรณ์พิเศษที่ให้สัตว์อาศัยอยู่ แนวทางสำ�หรับการก่อสร้าง ทางเดิน ทางเดินควรมีความกว้างเพียงพอเพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้ายบุคลากรและอุปกรณ์ ทางเดินกว้าง 6 ถึง 8 ฟุต สามารถให้ความสะดวกต่อความจำ�เป็นต่างๆ ในสถานที่สำ�หรับสัตว์โดยส่วนใหญ่ ควรออกแบบ รอยต่อระหว่างพื้นกับผนังให้สะดวกต่อการทำ�ความสะอาด แนะนำ�ให้มีราวกันกระแทกหรือแผงกันชน และ ถ้ามีให้ควรอุดรอยต่อให้สนิท หรือสั่งทำ�เพื่อให้ป้องกันสัตว์ก่อความรำ�คาญไม่ให้เข้าไปอยู่ข้างใน ในทางเดิน ที่นำ�ไปสู่สถานที่เลี้ยงสุนัขหรือสุกร บริเวณล้างกรงและบริเวณอื่นๆที่มีเสียงดัง ควรพิจารณาใช้ทางเข้าที่มี ประตูสองชั้นแยกส่วนห้องโถงย่อยก่อนเข้าสู่ห้องสัตว์ หรือใช้การดักเก็บเสียงในรูปแบบอื่น แนะนำ�ให้มีทาง เข้าแบบเดียวกันสำ�หรับบริเวณที่น�ไปสู่ห้องลิงเพื่อเป็นวิธีลดโอกาสการหลุดหนี ทางเข้าที่มีประตูสองชั้นที่มี ำ ห้องโถงย่อย ยังสามารถกักอากาศไว้ในบริเวณเหล่านี้และบริเวณอื่นซึ่งการไหลของอากาศทางเดียวเป็นการ วิกฤตสำ�หรับการกักกันหรือการป้องกัน เมือทำ�ได้ควรเข้าถึงท่อน้� ท่อน้�ทิง สายม้วนและวาล์วเปิดปิดเครือง ่ ำ ำ ้ ่ ทำ�ความร้อน จุดเชื่อมต่อของอุปกรณ์ไฟฟ้า และระบบอำ�นวยประโยชน์อื่นๆ โดยผ่านโถงเหนือฝ้าเพดาน หรือช่องทางเข้าที่ฝ้า หรือเวิ้งทางเข้าจากทางเดินจากภายนอกห้องเลี้ยงสัตว์ ควรติดตั้งสัญญาณเตือนไฟ ถัง ดับเพลิง และโทรศัพท์ในซอกผนังโดยติดตั้งให้สูงพอเพียง หรือกำ�บังด้วยโล่เพื่อป้องกันการเสียหายจากการ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ขนาดใหญ่

กายภาพของสถานที่ 137 ประตูห้องสัตว์ ประตูควรมีขนาดใหญ่เพียงพอ (ประมาณ 42x84 นิ้ว) เพื่อสามารถให้ชั้นวางกรงและอุปกรณ์ผ่าน ได้ง่าย และประตูควรยึดติดแน่นกับวงกบ ทั้งประตูและวงกบควรปิดแนบสนิทเพื่อป้องกันไม่ให้สัตว์พวก ก่อความรำ�คาญเข้าหรืออาศัยอยู่ข้างใน ประตูควรถูกสร้างด้วย (และเมื่อเหมาะสมควรถูกเคลือบด้วย) วัสดุต่างที่ทนทานต่อการสึกกร่อน ควรใช้ประตูที่มีอุปกรณ์เพื่อดึงปิดได้เอง พร้อมติดตั้งอุปกรณ์มือจับชนิด ที่ฝังในซอก หรือมีที่กำ�บังมือจับ มีแผ่นกวาดกันใต้ประตู และแผ่นสำ�หรับเตะ และอุปกรณ์เครื่องป้องกัน อื่นๆ ขาหยุดที่ใช้ในโรงพยาบาลหรือดุมสำ�หรับหยุดประตูอาจมีประโยชน์เพื่อช่วยการทำ�ความสะอาด (Harris 2005) เพื่อความปลอดภัยประตูควรเปิดเข้าไปในห้องเลี้ยงสัตว์ ถ้ามีความจำ�เป็นซึ่งประตูเปิดไปสู่ ทางเดิน ควรเปิดสู่โถงหน้าประตู ในที่ซึ่งความปลอดภัยในระดับห้องเป็นสิ่งจ�เป็น หรือเป็นการก�หนดเพื่อจ�กัดการเข้า (เช่น การใช้ ำ ำ ำ สารเคมีอันตรายต่างๆ) ประตูห้องควรถูกติดตั้งอุปกรณ์กุญแจล็อคหรือเครื่องมืออิเลคโทรนิค เพื่อความ ปลอดภัยของบุคลากรควรออกแบบประตูให้เปิดจากด้านในห้องโดยไม่ต้องใช้กุญแจ ประตูที่มีช่องหน้าต่างสำ�หรับการมองอาจมีความจำ�เป็นเพื่อความปลอดภัยและเหตุผลอื่นๆ แต่อาจ พิจารณาความสามารถปกปิดช่องหน้าต่างเหล่านี้ ถ้าการคุกคามจากแสงหรือกิจกรรมต่างๆในทางเดินจะเป็น สิ่งไม่พึงประสงค์ (เช่น เพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนวงจรกลางวันกลางคืนของสัตว์) ช่องหน้าต่างที่กระจกเคลือบ สีแดงซึงไม่ยอมให้ความยาวคลืนต่างๆโดยเฉพาะของแสงทีมองเห็นผ่านจากทางเดินไปสูหองสัตว์ ได้ถกพิสจน์ ่ ่ ่ ่ ้ ู ู แล้วว่ามีประโยชน์ส�หรับห้องเก็บหนูเมาส์และหนูแรท โดยทีสตว์ทงสองชนิดมีความสามารถจำ�กัดต่อการรับ ำ ่ ั ั้ แสงในส่วนแถบแสงสีแดง (Jacobs et al. 2001; Lyubarsky et al. 1999; Sun et al. 1997) หน้าต่างภายนอก การมีหน้าต่างในสถานที่สำ�หรับสัตว์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้องสัตว์สร้างโอกาสความเสี่ยงต่อความ ปลอดภัยและโดยทั่วไปควรหลีกเลี่ยง หน้าต่างยังสร้างปัญหาต่อการควบคุมอุณหภูมิของบริเวณและกีดกัน การควบคุมเข้มงวดต่อระยะเวลามีแสงสว่าง (photoperiod) ซึ่งมักต้องจัดให้มีส�หรับโปรโตคอลที่กี่ยวข้องกับ ำ สัตว์ (และเป็นข้อคำ�นึงที่สำ�คัญยิ่งต่อฝูงสัตว์ฟันแทะที่ใช้แพร่ขยายพันธุ์) อย่างไรก็ดี ในบางสถานะเฉพาะ หน้าต่างสามารถเป็นส่วนเสริมเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมอย่างหนึ่งสำ�หรับสัตว์บางชนิด เช่น ลิง พื้น พื้นควรทนต่อความชื้น ไม่ดูดซับความชื้น ทนต่อการกดกระแทกและมีผิวเรียบสม่ำ�เสมอ ถึงแม้ว่าใน บางบริเวณที่มีความชื้นสูงและสำ�หรับสัตว์บางชนิด (เช่น ปศุสัตว์) อาจต้องการพื้นผิวหยาบ พื้นควรง่ายต่อ การซ่อมแซม และทนทานต่อปฏิกิริยาของปัสสาวะและต่อสารชีวภาพอื่นๆ และต่อผลข้างเคียงของน้ำ�ร้อน และสารทำ�ความสะอาด พืนควรสามารถรองรับชันวางอุปกรณ์และเก็บของต่างๆโดยไม่เกิดร่องรอยแยกหรือ ้ ้

138 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง รอยยุบ พื้นควรสามารถรองรับชั้นวางกรงสัตว์ อุปกรณ์และของใช้ที่เก็บโดยไม่เป็นหลุม รอยแยก หรือแอ่ง โดยขึนกับการใช้งาน พืนควรเป็นผืนเดียวกันหรือมีรอยต่อน้อยทีสด วัสดุบางอย่างทีได้พสจน์แล้วว่าเป็นทีนา ้ ้ ่ ุ ่ ิ ู ่ ่ พอใจได้แก่ พื้นอีป๊อกซี่ (epoxy resins) พื้นคอนกรีตชนิดมีผิวแข็งถูกอุดแน่น พื้นเมทิลเมทาคริเลท (methyl- methacrylate) พื้นโพลียูรีเทน และพื้นชนิดที่มียางเป็นองค์ประกอบซึ่งแข็งเป็นพิเศษ พื้นชนิดที่กล่าวท้ายสุด นี้มีประโยชน์ในบริเวณต่างๆซึ่งการลดเสียงเป็นสิ่งสำ�คัญ การติดตั้งอย่างถูกต้องเป็นสิ่งจำ�เป็นเพื่อมั่นใจว่า พืนผิวมีความทนทานอยูได้นาน ถ้ามีการติดตังธรณีประตูททางเข้าห้องควรถูกออกแบบให้อปกรณ์ผานได้งาย ้ ่ ้ ี่ ุ ่ ่ การระบายน้�ทิ้ง ำ เมื่อใช้การระบายน้ำ�ที่พื้น พื้นห้องควรลาดเอียงและท่อดักในท่อระบายน้ำ�มีของเหลวเต็มอยู่ตลอด ระบายน้�ออกควรทำ�ให้น�ไหลออกและพืนแห้งโดยเร็วเพือลดความชืนสะสมให้เหลือน้อยทีสด (Gorton และ ำ ้ำ ้ ่ ้ ่ ุ Besch 1974) ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางท่อระบายน้ำ�อย่างน้อย 4 นิ้ว (10.2 เซนติเมตร) ถึงแม้ว่าในบางพื้นที่ เช่น คอกสุนัขและสถานที่สำ�หรับปศุสัตว์ แนะนำ�ให้ใช้ท่อขนาดใหญ่กว่า (≥6 นิ้ว) ทางระบายน้�ที่ขอบโดย ำ รอบหรือระบบติดตังชนิดใช้กบงานหนักใต้พนอาจมีประโยชน์ส�หรับการทิงของเสียพวกของแข็ง เมือไม่ใช้ทอ ้ ั ื้ ำ ้ ่ ่ ระบายเป็นเวลานานควรปิดฝาและผนึกให้สนิทเพื่อป้องกันการไหลย้อนของแก๊ส สัตว์ก่อความรำ �คาญและ สิ่งปนเปื้อนอื่นๆ อาจใช้ท่อระบายน้�ชนิดมีฝาปิดล็อคได้เพื่อจุดประสงค์นี้ในบางสถานการณ์ ำ ไม่จ�เป็นต้องมีการระบายน้�ในห้องเลียงสัตว์ทกห้องโดยเฉพาะอย่างยิงห้องเลียงสัตว์ฟนแทะ สามารถ ำ ำ ้ ุ ่ ้ ั ทำ�ความสะอาดพื้นของห้องเหล่านั้นอย่างน่าพอใจโดยถูกหลักสุขาภิบาลด้วยเครื่องดูดชนิดเปียก หรือการ ถูพื้นด้วยสารทำ�ความสะอาดหรือน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ แต่การติดตั้งท่อระบายน้ำ�ที่พื้นซึ่งปิดได้เมื่อไม่ใช้อาจให้ ความยืดหยุ่นสำ�หรับการใช้ห้องเลี้ยงสัตว์ที่ไม่ใช่สัตว์ฟันแทะในอนาคต ผนังและฝ้าเพดาน ผนังและฝ้าเพดานควรเรียบ ทนต่อความชื้น ไม่ซึมซับน้ำ�และทนทานต่อการเสียหายจากการถูก กดกระแทก ผนังและฝ้าเพดานควรปราศจากรอยแยก ปราศจากช่องที่เกิดจากการฝังเครื่องใช้ไว้โดยที่ไม่ได้ อุดให้สนิท และปราศจากรอยต่อที่ไม่สนิทกับประตู เพดาน พื้นและมุม พื้นผิวของวัสดุควรสามารถทนทาน ต่อการทำ�ความสะอาดด้วยสารซักฟอกและสารฆ่าเชื้อ และการกระทบด้วยน้ำ�ที่มีความดันสูง ควรพิจารณา ใช้คันกั้นน้ำ� ราวป้องกันหรือกันชน และแผ่นกันมุมเพื่อป้องกันผนังและมุมจากการเสียหาย และชิ้นส่วน ดังกล่าวควรทึบหรือถูกอุดสนิทเพื่อป้องกันการเข้าและการมาอาศัยอยู่ของสัตว์ก่อความรำ�คาญ เพดานทีมาจากพืนคอนกรีตหล่อทีอยูขางบนเป็นทีนาพอใจถ้าเรียบและถูกอุดยาแนว หรือถูกทาสี โดย ่ ้ ่ ่้ ่ ่ ทั่วไปไม่นิยมใช้เพดานแขวนในห้องเก็บสัตว์ ยกเว้นเมื่อรอยต่อถูกอุดสนิทด้วยปะเก็นและที่หนีบ ถ้ามีการ ใช้ฝ้าควรถูกสร้างด้วยวัสดุที่กันการซึมผ่านและมีพื้นผิววัสดุที่ล้างทำ�ความสะอาดได้ และปราศจากรอยต่อ ที่ไม่สนิท การโผล่ของท่อระบายน้ำ� ท่อลมและโคมไฟแสงสว่างเป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ยกเว้นถ้าสามารถทำ� ความสะอาดพื้นผิวเหล่านี้ได้อย่างสะดวก

กายภาพของสถานที่ 139 การให้ความร้อน การระบายอากาศและการปรับอากาศ (HVAC) ระบบ HVAC ที่ถูกออกแบบอย่างถูกต้องและทำ�หน้าที่ได้เป็นความจำ�เป็น เพื่อให้การควบคุมสภาพ แวดล้อมและรักษาระดับความกดดันอากาศของพื้นที่ การควบคุมอุณหภูมิและความชื้นลดการผันแปร อันเนืองมาจากการเปลียนแปลงสภาวะอากาศ หรือจากความแตกต่างในจำ�นวนและชนิดของสัตว์ และอุปกรณ์ ่ ่ ในห้องเลี้ยงสัตว์ให้เหลือน้อยที่สุด (เช่น ห้องหรือห้องย่อย) การรักษาระดับความกดดันอากาศช่วยใน การควบคุมการปนเปื้อนและกลิ่นที่มากับอากาศ โดยการให้อากาศไหลไปในทิศทางเดียวระหว่างช่องว่าง ต่างๆ บริเวณสำ�หรับกักกันสัตว์ บริเวณเลี้ยงและใช้สัตว์ที่สัมผัสต่อสารอันตรายต่างๆ และสำ�หรับการเลี้ยง ลิงควรรักษาให้มีความดันสัมพัทธ์ที่เป็นลบในขณะที่บริเวณสำ�หรับศัลยกรรมหรือการเก็บอุปกรณ์สะอาด ควรถูกรักษาให้มีความดันสัมพัทธ์เป็นบวกด้วยอากาศที่สะอาด ควรออกแบบระบบ HVAC ให้น่าเชื่อถือ (รวมทั้งการเตรียมให้มีเครื่องสำ�รองเมื่อทำ�ได้) ง่ายต่อการ ซ่อมบำ�รุงและประหยัดพลังงาน สามารถบรรลุความต้องการต่างๆ ของสัตว์ดังที่อภิปรายไว้ในบทที่ 3 และ มีความยืดหยุ่น และปรับให้เหมาะได้กับการเปลี่ยนชนิดและจำ�นวนของสัตว์และอุปกรณ์ที่เก็บรักษาไว้ตลอด อายุการใช้งานของอาคาร (ASHRAE 2007a) ระบบควรมีความสามารถในการปรับ และในระบบที่สมบูรณ์ สามารถรักษาอุณหภูมกระเปาะแห้งในช่วง ±1 ซ (±2 ฟ) โดยทัวไปความชืนสัมพัทธ์ควรถูกรักษาไว้ที่ 30−70% ิ   ่ ้ ตลอดทังปี ถึงแม้วาการรักษาการทำ�ให้มระดับความชืนภายในช่วงจำ�กัดหนึงไปตลอดระยะเวลานานเป็นความ ้ ่ ี ้ ่ ยากลำ�บากมาก การแกว่งค่าขึนลงในแต่ละวัน (การตระหนักถึงผลของกิจวัตรการสัตวบาลโดยเฉพาะอย่างยิง ้ ่ เมื่อดูแลสัตว์ขนาดใหญ่) ของความชื้นสัมพัทธ์ควรมีน้อยที่สุด ถ้าการเบี่ยงเบนออกนอกช่วงที่ต้องการ มีไม่บ่อย มีเพียงเล็กน้อยและมีระยะเวลาสั้นๆ การแกว่งเหล่านี้มักไม่มีผลกระทบด้านลบต่อสัตว์ ตามทฤษฎี ความชื้นสัมพัทธ์ควรถูกคงไว้ที่ ±10% ของค่าที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ดีค่านี้อาจทำ�ไม่ได้ภายใต้สถานการณ์บางอย่าง ระบบต่างๆ ซึ่งให้ปริมาตรคงที่ได้ถูกใช้บ่อยที่สุดในสถานที่สำ�หรับสัตว์ แต่ระบบปริมาตรแปรผัน (variable-volume, VAV) อาจให้ข้อได้เปรียบในการออกแบบและการปฏิบัติ เช่น การยอมให้อัตราการระบาย อากาศถูกตังโดยสอดคล้องกับปริมาณความร้อนและค่าตัวแปรอืนๆ ระบบเหล่านีให้ขอได้เปรียบค่อนข้างมาก ้ ่ ้ ้ โดยคำ�นึงถึงการยืดหยุ่นและการอนุรักษ์พลังงาน (ดูบทที่ 3) ช่วงของอุณหภูมและความชืนทีก�หนดไว้กอนหน้านีสามารถถูกปรับให้สอดคล้องกับความจำ�เป็นพิเศษ ิ ้ ่ำ ่ ้ ของสัตว์ภายใต้สภาวะการณ์โดยที่อาคารทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ถูกออกแบบโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำ�หรับ สัตว์ที่คุ้นเคยกับสิ่งแวดล้อมที่มีความต้องการเช่นเดียวกัน (เช่น เมื่อสัตว์ถูกเลี้ยงในเพิงที่พัก หรือกลางแจ้ง) นอกจากนี้การดัดแปลงอาจจำ�เป็นเพื่อคำ�นึงถึงสภาพแวดล้อมจุลภาคในสิ่งล้อมรอบอันดับแรกบางชนิด เช่น กรงสัตว์ฟันแทะที่ให้สภาพแวดล้อมแยกจากกรงอื่น (isolator cages) ที่ซึ่งความชื้นและอุณหภูมิอาจสูง มากกว่าค่าที่ระดับห้อง อุณหภูมิถูกควบคุมอย่างดีที่สุดด้วยการควบคุมอุณหภูมิสำ�หรับห้องแต่ละห้อง การใช้การควบคุม ทั้งบริเวณสำ�หรับห้องหลายห้องสามารถเป็นผลต่อความผันแปรอุณหภูมิระหว่างห้องต่างๆภายในบริเวณ เพราะความแตกต่างในความหนาแน่นของสัตว์และความร้อนทีได้ หรือสูญเสียในท่อระบายอากาศและพืนผิว ่ ้

140 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง อื่นในบริเวณนั้น การควบคุมแต่ละพื้นที่มักทำ�สำ�เร็จโดยการจัดสรรขดลวดความร้อนสำ�หรับแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะ ลินปิดเปิดควบคุมขดลวดความร้อนควรอยูในตำ�แหน่งปิดเมือเสีย ควรหลีกเลียงขดลวดไอน้�ร้อน ้ ่ ่ ่ ำ หรือการใช้อุปกรณ์ที่มีระบบตัดการทำ�งานเมื่ออุณภูมิสูงเพื่อป้องกันอุณภูมิเพิ่มสูงเกินไปขณะลิ้นปิดเปิด บกพร่อง การเพิ่มความชื้นมักถูกควบคุมและเสริมด้วยระบบพื้นฐานหรือให้เป็นบริเวณ การควบคุมการเพิ่ม ความชื้นในพื้นที่แต่ละส่วนอาจพึงประสงค์สำ�หรับสัตว์ชนิดเฉพาะที่มีความทนจำ�กัดต่อความชื้นต่� (เช่น ลิง) ำ หรือ ความชื้นสูง (เช่น กระต่าย) ระบบ HVAC โดยส่วนใหญ่ถูกออกแบบสำ�หรับอุณหภูมิและความชื้นสูงต่ำ�เฉลี่ย ที่มักพบในสภาพ ภูมิประเทศหนึ่ง ภายในช่วงผันแปร ±5% (ASHRAE 2009) การผันแปรอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ อย่างปานกลางนอกช่วงที่แนะนำ�ไว้ โดยทั่วไปสัตว์ส่วนใหญ่ที่ถูกใช้ในการวิจัยมักทนทานได้ดีตราบที่มีระยะ เวลาสนและไมบอย พนทส�หรบเลยงสตวควรถกออกแบบเพอลดกระแสลมแรงและความผนแปรของอณหภมิ ั้ ่ ่ ื้ ี่ ำ ั ี้ ั ์ ู ื่ ั ุ ู ให้มีน้อยที่สุด ควรให้มีการเตรียมการเพื่อลดการแกว่งขึ้นลงของอุณหูมิและความชื้นสัมพัทธ์นอกเหนือช่วงที่ แนะนำ�ที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะรุนแรงสุดขีดของสภาพแวดล้อมภายนอกที่อยู่ล้อมรอบให้มีน้อยที่สุด วิธีดังกล่าวได้แก่ ระบบสำ�รองบางส่วน การนำ�อากาศบางส่วนมาหมุนเวียนใช้อีก การเปลี่ยนอัตราการระบาย อากาศหรือการใช้อุปกรณ์สนับสนุน ในเหตุการณ์ซึ่งระบบ HVAC หรือ ส่วนประกอบทำ�งานล้มเหลว อย่างน้อยที่สุดระบบต่างๆ ควรสนองความจำ�เป็นของอาคารที่ระดับต่ำ� สามารถสนองตอบผลกระทบของ การสูญเสียการควบคุมอุณหภูมิ และเมื่อจำ�เป็นสามารถรักษาความแตกต่างของความดันอากาศที่มีความ ส�คญมาก เปนความจ�เปนตองมการปองกนการสะสมหรอการสญเสยความรอนระหวางเครองจกรขดของซง ำ ั ็ ำ ็ ้ ี ้ ั ื ู ี ้ ่ ื่ ั ั ้ ึ่ คุกคามถึงแก่ชีวิต ความจำ�เป็นบางครั้งเพื่อการระบายอากาศของเพิงที่พักหรือสถานที่กลางแจ้งมักทำ�โดย อุปกรณ์เสริม ตำ�แหน่งการดึงอากาศเข้าสูระบบจัดการอากาศควรหลีกเลียงทิศทางของไอเสียจากยานพาหนะ อุปกรณ์ ่ ่ และระบบปล่อยอากาศเสีย การใช้อากาศภายนอก 100% คุณภาพและปริมาณของอากาศเมือมีการใช้ซ�ควร ่ ้ำ สอดคล้องกับคำ�แนะนำ�ในบทที่ 3 รูปแบบและประสิทธิภาพของการบำ�บัดอากาศทีจายให้และปล่อยออกควร ่่ ตรงกับปริมาณและชนิดของสิ่งปนเปื้อนและความเสี่ยงต่างๆ อากาศที่จ่ายให้มักถูกกรองด้วยแผ่นกรองชนิด ที่มีประสิทธิภาพกรองฝุ่นได้ 80-95% (ASHRAE 2008) ในกรณีเฉพาะแผ่นกรองประสิทธิภาพสูง (เช่น HEPA) อาจมีประโยชน์สำ�หรับการใช้อากาศซ้ำ� และบำ�บัดอากาศที่จ่ายให้หรือขับออกจากบริเวณเฉพาะต่างๆ เช่น ห้องศัลยกรรม และ บริเวณกักเก็บสิ่งอันตราย (Kowalski et al. 2002) พลังงานและแสงสว่าง ระบบไฟฟาควรปลอดภยและใหแสงสวางอยางเหมาะสม มชองปลกไฟฟาจ�นวนพอเพยงและใหก�ลง ้ ั ้ ่ ่ ี่ ั๊ ้ ำ ี ้ำ ั

กายภาพของสถานที่ 141 กระแสไฟฟาเหมาะสมกบอปกรณพเศษ กรณทพลงงานไฟฟาขดของควรมพลงงานส�รองหรอฉกเฉนไวจายไฟ ้ ั ุ ์ ิ ี ี่ ั ้ ั ้ ี ั ำ ื ุ ิ ้่ เพื่อให้ส่วนที่ส�คัญทำ�งานต่อได้ (เช่น ระบบ HVAC ระบบกรงที่มีการระบายอากาศ [Huerkamp et al. 2003] ำ หรือระบบชีวนิรภัยสำ�หรับสัตว์น้ำ�) หรือหน้าที่สนับสนุนต่างๆ (เช่น ตู้แช่เยือกแข็ง และไอโซเลเตอร์) ในห้อง เลี้ยงสัตว์ ห้องชุดเพื่อการผ่าตัดและบริเวณที่จำ�เป็นอื่นๆ ควรคำ�นึงถึงการประกอบไฟทั้งชุดโดยใช้ปลั๊กหมุน เกลียวล๊อคสำ�หรับเครื่องมือที่เคลื่อนย้ายได้ซึ่งจำ�เป็นต้องใช้ไฟโดยไม่ถูกรบกวน เพื่อป้องกันปลั๊กหลุด โดยอุบัติเหตุจากการถูกเคลื่อนที่ออกจากตำ�แหน่งจ่ายไฟ โคมไฟ เครื่องตั้งเวลา สวิทซ์และปลั๊กไฟต่างๆ ควรถูกอุดรอยต่อให้สนิทเพื่อป้องกันการเข้าอยู่อาศัย ของแมลงก่อความรำ�คาญ โคมไฟแบบฝังอยู่ในเพดานมีหลอดฟลูออเรสเซนท์ชนิดที่ใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพมีใช้บ่อยในสถานที่สำ�หรับสัตว์ คุณภาพแถบสีของแสงอาจสำ�คัญสำ�หรับสัตว์บางชนิดที่เลี้ยงไว้ ในห้องปฏิบัติการ ในกรณีเหล่านี้หลอดไฟที่ให้แถบแสงครบถ้วนอาจเหมาะสม ควรใช้ระบบไฟแสงสว่าง ที่มีเครื่องตั้งเวลาเพื่อให้แน่ใจว่ามีวงจรแสงสว่างกลางวันกลางคืนอย่างสม่ำ�เสมอ ควรติดตั้งระบบควบคุมทับ ซอนทมการตดไฟเมอหมดเวลา หรอมแสงไฟเตอนเพอแสดงวาระบบอยในชวงทบซอน ควรตรวจสอบประเมน ้ ี่ ี ั ื่ ื ี ื ื่ ่ ู่ ่ ั ้ ิ สมรรถนะของเครองตงเวลาและระบบควบคมทบซอนอยางสม่ำ�เสมอเพอยนยนวามวงจรถกตอง อาจพจารณา ื่ ั้ ุ ั ้ ่ ื่ ื ั ่ ี ู ้ ิ ไฟแสงสว่างสองระดับเมื่อเก็บสัตว์ชนิดที่ไวต่อแสงความเข้มสูง เช่น สัตว์ฟันแทะเผือก ให้มีแสงที่ความเข้มต่� ำ ในระยะมแสงของวงจรกลางวนกลางคน และใหแสงความเขมสงกวาตามความจำ�เปน (เชน เมอบคลากรตองการ ี ั ื ้ ้ ู ่ ็ ่ ื่ ุ ้ มองเห็นได้ชัดขึ้น) หลอดหรือโคมไฟควรมีหน้ากากปิดเพื่อให้มั่นใจความปลอดภัยต่อสัตว์และบุคลากร ควรใช้สวิทซ์และปลั๊กจ่ายไฟชนิดที่ทนความชื้น และเครื่องตัดกระแสไฟลงดินได้ในบริเวณที่มีการใช้น้ำ�มาก เช่น บริเวณล้างกรง และบริเวณที่มีตู้เลี้ยงสัตว์น้ำ� พื้นที่เก็บของ ควรจัดพื้นที่อย่างเพียงพอเพื่อการเก็บอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ อาหาร วัสดุรองนอนและขยะมูลฝอย ทางเดินไม่เหมาะที่จะเป็นที่เก็บของ พื้นที่เก็บของสามารถลดลงได้เมื่อการขนส่งวัสดุและครุภัณฑ์ทำ�ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและบ่อย อย่างไรก็ดีควรมีพอเพียงเพื่อเกื้อหนุนของใช้ประจำ�ต่างๆ เพื่อให้มั่นใจว่า การสัตวบาลและการดูแลสัตว์ทำ�ได้อย่างต่อเนื่อง (เช่น เมื่อการส่งล่าช้า) วัสดุรองนอนและอาหารควร เก็บในบริเวณที่แยกต่างหากปราศจากสัตว์ก่อความรำ �คาญและป้องกันจากความเสี่ยงต่อการปนเปื้อน จากสารพิษหรือสารก่ออันตราย บริเวณเก็บอาหารไม่ควรมีอุณหภูมิหรือความชื้นเพิ่มสูงขึ้นเป็นระยะเวลา นาน บริเวณเก็บขยะมูลฝอยควรแยกจากบริเวณเก็บของอืนๆ การเก็บซากสัตว์และของเสียพวกเนือเยือสัตว์ ่ ้ ่ จำ�เป็นต้องเก็บโดยแช่ตู้เย็นแยกออกจากการเก็บแช่เย็นแบบอื่นๆ บริเวณนี้ควรรักษาอุณหภูมิให้ต่ำ�กว่า 7oซ (44.6oฟ) เพื่อลดการเน่าของขยะมูลฝอยและซากสัตว์ และควรถูกสร้างให้ทำ�ความสะอาดได้ง่าย

142 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การควบคุมเสียง การควบคุมเสียงในอาคารสำ�หรับสัตว์เป็นการพิจารณาทีส�คัญ และควรคำ�นึงถึงตังแต่ระยะการวางแผน ่ำ ้ การออกแบบหรือปรับปรุงสถานที่ (ดูบทที่ 3) ภารกิจสนับสนุนที่ทำ�ให้เกิดเสียงดัง เช่น การล้างกรง มักถูก แยกจากส่วนเลี้ยงสัตว์และการทดลอง ผนังก่ออิฐถือปูนเนื่องจากความหนาแน่นจึงมักมีคุณสมบัติในการ ลดเสียงได้ดีเยี่ยม แต่การลดเสียงเช่นเดียวกันนี้สามารถทำ�ได้ด้วยการใช้วัสดุอื่นๆที่แตกต่างกันและการใช้ แผงกั้นผนังหลายตัวอย่าง เช่น วัสดุเก็บเสียงซึ่งทำ�ความสะอาดตามหลักสุขาภิบาลได้ที่ได้ยึดติดกันกับ ผนังหรือเพดาน อาจเหมาะสมเพือควบคุมเสียงในบางสถานการณ์ ในขณะทีวสดุควบคุมเสียงซึงทาบลงโดยตรง ่ ่ั ่ กับเพดานแขวนของห้องเลี้ยงสัตว์เป็นปัญหาต่อการสุขาภิบาลและการควบคุมแมลงก่อความรำ�คาญ ดังนั้น จึงไม่แนะนำ�ให้ใช้ ประสบการณ์ได้แสดงว่าประตูที่ทางเดิน ประตูกรองเสียงหรือประตูทางเข้าสองชั้นเข้าสู่ โถงย่อ ยที่ถู กสร้างขึ้นอย่างดีสามารถช่วยควบคุมการผ่านของเสียงตลอดทางเดิน แหล่งที่ดีเยี่ยมของ การออกแบบแผงผนังเพือควบคุมเสียงมีอยู่ในหนังสือ การควบคุมเสียงในอาคาร ข้อแนะนำ�สำ�หรับสถาปนิก ่ และวิศวกรเพื่อนำ�ไปปฏิบัติ (Warnock and Quirt 1994) ควรตั้งใจลดเสียงที่เกิดจากอุปกรณ์ (ASHRAE 2007b) ควรเลือกและกำ�หนดจุดติดตั้งระบบสัญญาณ เตือนไฟและการควบคุมสภาพแวดล้อมและระบบการประกาศกระจายเสียงภายในอาคารเพื่อลดโอกาส การรบกวนสัตว์ให้น้อยลงที่สุด ควรพิจารณาที่ตั้งของอุปกรณ์ที่สามารถก่อให้เกิดเสียงที่ระดับความถี่สูงมาก ซึงสำ�คัญในสัตว์บางชนิดทีสามารถได้ยนเสียงความถีสงมากดังกล่าว ควรพิจารณาเลือกอุปกรณ์ส�หรับอาคาร ่ ่ ิ ู่ ำ สัตว์ฟันแทะซึ่งไม่สร้างเสียงในช่วงความถี่สูงเหนือเสียง การควบคุมการสั่นสะเทือน การสั่นสะเทือนอาจเกิดจากเครื่องจักรกล สวิทช์ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ ของอาคาร หรือ จากแหล่งที่อยู่นอกสถานที่ (ผ่านการส่งต่อทางพื้นดิน) ในประเด็นหลังควรพิจารณารูปแบบโครงสร้างอาคาร เป็นพิเศษโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสถานที่สำ�หรับสัตว์จะตั้งอยู่เหนือ ใต้ หรือติดกันกับรถไฟใต้ดิน รถไฟหรือ การจราจรของรถยนต์และรถบรรทุก สัตว์หลายชนิดสามารถรับรู้และถูกกระทบโดยการสั่นได้หลายความถี่ และความยาวคลื่นเช่นเดียวกันกับเสียง ดังนั้นควรพยายามระบุแหล่งของการสั่นสะเทือนทั้งหมด และ แบ่งแยกหรือลดการสะเทือนด้วยระบบยับยั้งการสั่นสะเทือน (ASHRAE 2007b)

กายภาพของสถานที่ 143 บริเวณสำ�หรับการสุขาภิบาลวัสดุอุปกรณ์ ควรจัดตังให้มบริเวณศูนย์กลางสำ�หรับทำ�ความสะอาดกรงและอุปกรณ์เสริมต่างๆ อย่างถูกสุขอนามัย ้ ี โดยทั่วไปเครื่องล้างกรงเป็นสิ่งจำ�เป็นและควรถูกเลือกอย่างสอดคล้องกับชนิดของกรงและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ ควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ ได้แก่ ที่ตั้งซึ่งสัมพันธ์กับห้องเลี้ยงสัตว์และบริเวณที่ทิ้งขยะ และบริเวณต่างๆ ที่เก็บของ การเข้าถึงง่าย มีขนาดความกว้างของประตูพอเพียง เพื่ออุปกรณ์ผ่านได้สะดวก มีพื้นที่ว่างพอเพียง เพื่อการวางซ้อนและการเคลื่อนย้ายของอุปกรณ์ การทิ้งขยะของเสียและการปฏิบัติต่างๆ ก่อนกระบวนการล้าง ความง่ายของการล้างและการฆ่าเชื้ออาณาบริเวณ การจราจรที่แยกการเคลื่อนที่ของสัตว์และอุปกรณ์ ระหว่างบริเวณสะอาดและบริเวณสกปรก ความดันอากาศระหว่างพืนทีสวนทีถกแยกออกไปเพือลดการปนเปือนเชือทีอาจเป็นไปได้โดยข้าม ้ ่ ่ ู่ ่ ้ ้ ่ ระหว่างอุปกรณ์สกปรกและสะอาด ฉนวนกั้นความร้อนที่ผนังและเพดานเมื่อจำ�เป็น การลดเสียงให้เบาลง สิ่งอำ�นวยความสะดวก ได้แก่ น้ำ�ร้อนและน้ำ�เย็น ไอน้ำ�ร้อนแรงดันสูง การระบายน้ำ�ที่พื้นและ พลังงานไฟฟ้า การระบายอากาศ รวมทั้งการติดตั้งช่องระบายลมหรือฝาครอบ และให้มีการกระจายไอน้ำ �ร้อน และไอระเหยต่างๆ ออกไปจากกระบวนการสุขาภิบาล การสั่นสะเทือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสัตว์ถูกเก็บอยู่เหนือ ใต้ หรือ ถัดจากสถานที่สำ�หรับ การล้าง ความปลอดภัยของบุคลากรโดยการทำ�ให้มนใจว่า ฝักบัวชะล้างฉุกเฉิน สถานีชะล้างตา และอุปกรณ์ ั่ อื่นมีให้ไว้ตามที่บังคับโดยกฎ เช่น ท่อน้ำ�ร้อนและท่อไอน้ำ�ที่โผล่ออกมาต้องถูกหุ้มด้วยฉนวน วิธีการต่างๆ ที่มีแนวโน้มเกิดละอองของเหลวควรถูกกั้นไว้ และอุปกรณ์ เช่น เครื่องล้างกรงหรือ ชั้นวางกรงและเครื่อ งทำ�ให้ปลอดเชื้อที่มีขนาดใหญ่ซึ่งบุคลากรต้องเข้าไปข้างใน มีอุป กรณ์ เพื่อความปลอดภัยติดไว้ป้องกันเจ้าหน้าที่จากการถูกขังติดอยู่ภายใน การตรวจสอบและควบคุมสภาพแวดล้อม ควรคำ�นึงถึงการตรวจสอบและควบคุมสภาวะของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เลี้ยงสัตว์ และบริเวณอื่นๆ ที่มี ความไวต่อสิ่งแวดล้อมในอาคาร แนะนำ�ให้ใช้ระบบตรวจสอบและควบคุมโดยอัตโนมัติ ซึ่งแจ้งเตือนบุคลากร เมื่อมีการเบี่ยงเบนของสภาวะสภาพแวดล้อม รวมทั้งอุณหภูมิและวงจรแสงสว่างเพื่อป้องกันการสูญเสียชีวิต สัตว์หรือการเปลียนแปลงทางสรีระซึงเป็นผลมาจากระบบทำ�งานบกพร่อง ควรตรวจสอบยืนยันการทำ�หน้าที่ ่ ่ และความถูกต้องของระบบเหล่านี้เป็นประจำ�

144 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สถานที่พิเศษ ศัลยกรรม การออกแบบสถานที่สำ�หรับการศัลยกรรมควรเหมาะกับชนิดของสัตว์ที่ถูกทำ�การผ่าตัดและความซับ ซ้อนของวิธีดำ�เนินการปฏิบัติ (Hessler 1991; ดูภาคผนวก ก. การออกแบบและก่อสร้างสถานที่สำ�หรับสัตว์) สถานทีรวมทังทีใช้ส�หรับสัตว์ฟนแทะ อาจใหญ่ขนตามความจำ�เป็น และมีความซับซ้อนของจำ�นวนและขนาด ่ ้ ่ ำ ั ึ้ ของสัตว์ หรือความซับซ้อนของการปฏิบตทเพิมมากขึน ตัวอย่างเช่น ต้องมีสถานทีขนาดใหญ่ส�หรับให้ความ ั ิ ี่ ่ ้ ่ ำ สะดวกกับการปฏิบัติในปศุสัตว์ ทีมศัลยแพทย์ขนาดใหญ่ อุปกรณ์ฉายภาพต่างๆ ระบบหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด และ/หรือเสาอุปกรณ์กล้องส่องตรวจในช่องท้อง สถานทีส�หรับศัลยกรรมปศุสตว์อาจต้องการสิงเพิมเติมเช่น ่ ำ ั ่ ่ การระบายน้�ที่พื้น เครื่องจับบังคับสัตว์ชนิดพิเศษและโต๊ะผ่าตัดที่ยกด้วยไฮโดรลิค ำ สำ�หรับศัลยกรรมรอดชีวิตส่วนใหญ่ที่ทำ�ในสัตว์ฟันแทะและสัตว์ขนาดเล็กชนิดอื่น เช่น สัตว์น�และนก ้ำ แนะนำ�ให้ใช้หองปฏิบตการสำ�หรับสัตว์ ควรกำ�หนดพืนทีเฉพาะสำ�หรับศัลยกรรมและกิจกรรมทีเกียวข้องเมือ ้ ั ิ ้ ่ ่ ่ ่ ถูกใช้เพือวัตถุประสงค์นี้ และถูกจัดการเพือลดการปนเปือนจากกิจกรรมอืนทีปฏิบตในห้อง ณ ช่วงเวลาอืนให้ ่ ่ ้ ่ ่ ั ิ ่ มีนอยทีสด ควรคำ�นึงถึงภาพรวมกับความซับซ้อนของโปรแกรมศัลยกรรมเมือพิจารณาความสัมพันธ์ของสถาน ้ ุ่ ่ ที่ศัลยกรรมในห้องปฏิบัติการวินิจฉัย สถานที่ฉายภาพรังสี บริเวณเลี้ยงสัตว์ สำ�นักงานและอื่นๆ บริเวณทำ� ศัลยกรรมทีเป็นศูนย์กลางมีขอได้เปรียบด้วยการลดค่าใช้จายด้านอุปกรณ์ การประหยัดพืนทีและบุคลากรและ ่ ้ ่ ้ ่ ลดการพักระหว่างการเดินทางของสัตว์ พืนทีเหล่านียงส่งเสริมความปลอดภัยของบุคลากรและการกำ�กับดูแล ้ ่ ้ ั บริเวณและการดำ�เนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ ส่วนประกอบตามหน้าที่ศัลยกรรมปลอดเชื้อสำ�หรับโปรแกรมศัลยกรรมโดยส่วนใหญ่ ได้แก่ ส่วน สนับสนุนการผ่าตัด การเตรียมสัตว์ การขัดถูมือของศัลยแพทย์ ห้องผ่าตัดและห้องรอฟื้นหลังผ่าตัด ควร ออกแบบพื้นที่สนับสนุนหน้าที่เหล่านั้นเพื่อลดการจราจรให้น้อยที่สุด และแยกจากการปฏิบัติเกี่ยวข้องอื่นๆ ที่ไม่ใช่การผ่าตัดจากขั้นตอนการผ่าตัดในห้องผ่าตัด การแยกที่ดีที่สุดทำ�โดยการกั้นจากกันโดยทางกายภาพ (AORN 1993) แต่อาจทำ�ให้ส�เร็จด้วยระยะทางระหว่างบริเวณ หรือด้วยช่วงระยะเวลาของการทำ�ความสะอาด ำ และฆ่าเชื้ออย่างเหมาะสมระหว่างการปฏิบัติ ควรแยกสถานทีศลยกรรมออกจากบริเวณอืนอย่างเพียงพอเพือลดการจราจรทีไม่จ�เป็นให้มนอยทีสด ่ ั ่ ่ ่ ำ ี ้ ่ ุ และลดการปนเปื้อนเชื้อที่อาจมีอยู่ (Humphreys 1993) จำ�นวนบุคลากรและระดับของการปฏิบัติมีความ สัมพันธ์โดยตรงกับระดับของการปนเปือนเชือแบคทีเรีย และอุบตการณ์แผลติดเชือหลังการผ่าตัด (Fitzgerald ้ ้ ั ิ ้ 1979) การจราจรในห้องผ่าตัดสามารถลดลงได้โดยการติดตั้งหน้าต่างเพื่อสังเกตการณ์ ระบบสื่อสาร (เช่น ระบบโทรศัพท์ภายใน) และตำ�แหน่งที่ตั้งของประตูที่เหมาะสม การควบคุมการปนเปือนและความสะดวกในการทำ�ความสะอาด ถือเป็นสิงสำ�คัญในการพิจารณาการ ้ ่ ออกแบบสถานที่ศัลยกรรม พื้นผิวภายในควรถูกก่อสร้างด้วยวัสดุที่เนื้อแน่นเป็นผืนเดียวกันและไม่ยอมให้

กายภาพของสถานที่ 145 ความชืนผ่าน ระบบระบายอากาศทีจายอากาศซึงถูกกรองแล้วทีความดันเป็นบวกสามารถลดความเสียงของ ้ ่่ ่ ่ ่ การติดเชื้อหลังการผ่าตัด (Ayscue 1986; Bartley 1993; Schonholtz 1976) แนะนำ�ให้ติดตั้งที่จ่ายอากาศและ ท่อระบายอากาศอย่างรอบคอบและมีอัตราการระบายอากาศที่พอเพียงเพื่อลดการปนเปื้อนให้เหลือน้อย ที่สุด (Ayliffe 1991; Bartley 1993; Holton and Ridgway 1993; Humphreys 1993) ควรมีอุปกรณ์ที่ยึดติด แน่นกับโครงสร้างในห้องผ่าตัดให้นอยทีสดเท่าทีท�ได้เพือให้ท�ความสะอาดได้งาย (Schonholtz 1976; UFAW ้ ุ่ ่ ำ ่ ำ ่ 1989) ส่วนสำ�คัญอื่นของห้องผ่าตัดที่พิจารณา เช่น มีโคมไฟผ่าตัดเพื่อให้ความสว่างอย่างพอเพียง (Ayscue 1986) มีปลั๊กจ่ายไฟอยู่พอเพียงสำ�หรับอุปกรณ์สนับสนุน ก๊าซสำ�หรับสนับสนุนการวางยาสลบ และอุปกรณ์ สำ�หรับพลังก๊าซ เครื่องดูดและความสามารถในการกำ�จัดก๊าซของเสียจากการดมยาสลบ ควรออกแบบบริเวณสนับสนุนการผ่าตัดเพื่อการล้างและการทำ�ให้เครื่องมือปลอดเชื้อ และเพื่อการ เก็บเครื่องมือและครุภัณฑ์ เครื่องอบนึ่งฆ่าเชื้อมักติดตั้งอยู่ในบริเวณนี้ มักต้องการมีอ่างขนาดใหญ่ในบริเวณ เตรียมสัตว์เพื่อทำ�ความสะอาดสัตว์และสถานที่ผ่าตัดได้สะดวก ควรมีบริเวณสำ�หรับบุคลากรแต่งตัวเปลี่ยน ใส่ชุดผ่าตัด ห้องที่มีตู้เก็บของเอนกประสงค์สามารถใช้งานได้ ควรมีบริเวณให้ศัลยแพทย์ขัดถูมือ ติดตั้งด้วย อ่างล้างมือทีบงคับด้วยเท้า เข่า หรือตัวรับสัญญาณ (Knecht et al. 1981) บริเวณขัดถูมอมักอยูนอกห้องผ่าตัด ่ ั ื ่ เพื่อลดโอกาสในการปนเปื้อนเชื้อโรคในบริเวณผ่าตัดจากละอองน้�ที่เกิดขึ้นระหว่างการขัดถูมือ ำ บรเวณพกฟนหลงการผาตดควรใหสภาพแวดลอมทางกายภาพทสนบสนนความจ�เปนของสตวระหวาง ิ ั ื้ ั ่ ั ้ ้ ี่ ั ุ ำ ็ ั ์ ่ ระยะเวลาสลบและระยะฟนตวจากการสลบหลงการผาตด และควรอยในททสงเกตอาการสตวไดอยางพอเพยง ื้ ั ั ่ ั ู่ ี่ ี่ ั ั ์ ้ ่ ี ในระหว่างระยะเวลาเฝ้ารอ ควรพิจารณาความต้องการไฟฟ้าและอุปกรณ์การควบคุมและอุปกรณ์สนับสนุน ชนดของกรงและอปกรณสนบสนนจะขนอยกบชนดของสตวและรปแบบของการด�เนนการ แตควรถกออกแบบ ิ ุ ์ ั ุ ึ้ ู่ ั ิ ั ์ ู ำ ิ ่ ู ให้ทำ�ความสะอาดได้ง่ายและสนับสนุนหน้าที่ทางสรีระ เช่น การควบคุมอุณหภูมิและการหายใจ อาจดัดแปลง บริเวณฟื้นตัวหลังการผ่าตัดสำ�หรับปศุสัตว์หรืองดเว้นไม่ต้องมีในบางสภาวะการเลี้ยงกลางแจ้งโดยขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ แต่ควรคำ�นึงถึงข้อควรระวังเพื่อลดความเสี่ยงในการบาดเจ็บต่อสัตว์ที่กำ�ลังฟื้นจากสลบ สถานที่สกัดกั้นเชื้อโรค สถานที่สกัดกั้นเชื้อโรค (barrier) ถูกออกแบบและก่อสร้างเพื่อป้องกันการนำ�เชื้อโรคติดต่อโดยบังเอิญ จากบริเวณทีเก็บและใช้สตว์ซงได้ถกระบุสถานะสุขภาพ ทีเหล่านีอาจเป็นส่วนหนึงของสถานทีขนาดใหญ่กว่า ่ ั ึ่ ู ่ ้ ่ ่ หรือเป็นหน่วยอิสระแห่งหนึ่ง ขณะที่ครั้งหนึ่งเคยใช้เป็นหลักสำ�หรับเลี้ยงสัตว์ฟันแทะที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง สถานที่ใหม่กว่าหลายๆแห่งได้ผนวกเอารูปแบบ barrier เพื่อใช้เก็บหนูเมาส์และหนูแรทปลอดเชื้อจำ�เพาะ (specific pathogen-free, SPF) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์จากกระบวนการพันธุวิศวกรรมที่มีคุณค่าสูง และสัตว์ SPF ชนิดอื่นๆ

146 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สถานที่ barrier มักมีห้องกักอากาศและทางเข้าแบบพิเศษต่างๆ (เช่น ห้องอาบน้� หรือพ่นลม) สำ�หรับ ำ เจ้าหน้าทีและครุภณฑ์ เจ้าหน้าทีมกสวมใส่เสือผ้าและรองเท้าทีจดไว้เฉพาะ หรือชุดสวมคลุมซึงซักแล้วใหม่ๆ ่ ั ่ ั ้ ่ั ่ ปลอดเชื้อ หรือชนิดที่ใช้แล้วทิ้ง ได้แก่ เสื้อกาวน์ ที่คลุมผมและรองเท้า ถุงมือ และบางครั้งใส่หน้ากากก่อน เข้า บริโภคภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ อาหารหรือวัสดุรองนอนที่อาจมีเชื้อโรคจะถูกอบนึ่งฆ่าเชื้อด้วยไอน้�ร้อนแรง ำ ดันสูง หรืออาบรังสีแกมม่าโดยผูผลิต และกำ�จัดการปนเปือนทีผวนอกก่อนการนำ�เข้า น้�ดืมอาจถูกอบฆ่าเชือ ้ ้ ่ ิ ำ ่ ้ ด้วยไอน้ำ� หรือผ่านการบำ�บัดพิเศษ (เช่น วิธีการกรองด้วย reverse osmosis) เพื่อกำ�จัดเชื้อโรคติดต่อ กรงสัตว์และวัสดุอื่นๆ ซึ่งสัตว์สัมผัสโดยตรงอาจถูกทำ�ให้ปลอดเชื้อหลังการล้างก่อนนำ�ไปใช้ซ้ำ�อีก มักมี วิธีดำ�เนินการปฏิบัติอย่างเข้มงวดเพื่อป้องกันการผสมปะปนกันของครุภัณฑ์ที่สะอาดและสกปรก และ กลุ่มบุคลากรทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหน้าที่การทำ�งาน เฉพาะสัตว์ที่ถูกระบุสถานะทางสุขภาพแล้วเท่านั้นที่จะรับ เข้า barrier และถ้าสัตว์เหล่านั้นออกไปจากอาคารแล้วห้ามนำ�กลับก่อนการทดสอบซ้ำ� จำ�กัดการเข้าออก ของบุคลากร และผูทได้รบอนุญาตให้เข้าอาคารควรได้รบการฝึกอบรมวิธปฏิบตทลดการนำ�การปนเปือนให้มี ้ ี่ ั ั ี ั ิ ี่ ้ น้อยที่สุด รูปแบบทางวิศวกรรมอาจมี การกรองระดับสูงของอากาศเข้า (เช่น HEPA หรือแผ่นกรองทีมประสิทธิภาพ ่ ี 95%) การควบคุมความดันอากาศของ barrier เมือเทียบกับบริเวณล้อมรอบและการไหลทางเดียวของอากาศ ่ จากบริเวณสะอาดไปสู่บริเวณที่อาจมีการปนเปื้อน อุปกรณ์พิเศษเสริม barrier อาจมี กรงไอโซเลเตอร์ กรง ที่มีการระบายอากาศแต่ละกรงและอุปกรณ์ที่ใช้ขณะเปลี่ยนกรงสัตว์ รายละเอียดการออกแบบ การก่อสร้างและการปฏิบัติงานใน barrier ได้ถูกตีพิมพ์แล้ว (Hessler 2008; Lipman 2006, 2008) การฉายภาพร่างกาย การฉายภาพร่างกายของสัตว์ที่มีชีวิตเป็นวิธีส�หรับการประเมินโครงสร้างและหน้าที่ ณ ระดับสัตว์ทั้ง ำ ตัว เนื้อเยื่อ หรือเซลล์ และช่วยให้มีโอกาสได้ศึกษาสภาวะชั่วคราวที่เกิดตามมาต่อเนื่องกัน (Chatham and Blackband 2001; Cherry and Gamnhir 2001) เครื่องฉายภาพร่างกายมีเทคโนโลยีเพื่อใช้สร้างภาพแตกต่าง กันร่างกาย ที่ถูกกำ�หนดเป้าหมายให้แสดงความละเอียดชัดเจน การคุกคามด้วยอันตรายและข้อกำ�หนดใน การใช้ เครืองฉายภาพอาจมีเกราะกำ�บังในตัวเองและไม่ได้ก�หนดการเปลียนแปลงโครงสร้างโดยรอบเพือการ ่ ำ ่ ่ ใช้งานอย่างปลอดภัย หรืออาจต้องการผนังต่างๆ เช่น คอนกรีต อิฐที่มีไส้กลางตัน ตะกั่ว เหล็กหรือบุด้วย แผ่นตะกั่ว หรือรูปแบบโครงสร้างอื่นเพื่อการใช้งานอย่างปลอดภัย หรือลดการรบกวนจากเครื่องมือและ กิจกรรมอื่นในบริเวณใกล้เคียง เพราะว่าเครื่องฉายภาพมักมีราคาแพงในการจัดหาและบำ�รุงรักษา และ อาจ ต้องการพื้นที่สนับสนุนเป็นพิเศษและบุคลากรผู้ปฏิบัติงานซึ่งผ่านการฝึกฝนอบรมอย่างมาก การแบ่งกันใช้ งานเครื่องฉายภาพร่วมกันอาจเป็นที่พึงพอใจมากกว่า

กายภาพของสถานที่ 147 ควรคำ�นึงถึงปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ตำ�แหน่งที่ตั้งของเครื่องฉายภาพว่าควรอยู่ในสถานที่ส�หรับสัตว์ หรือ ำ อยู่ในตำ�แหน่งที่แยกออกไป การปนเปื้อนเชื้อข้ามระหว่างสัตว์ต่างกลุ่ม ความแตกต่างของชนิดสัตว์ หรือ ระหว่างสัตว์และมนุษย์ (ถ้าเครื่องถูกใช้ส�หรับทั้งสัตว์และมนุษย์) เป็นไปได้เพราะเครื่องเหล่านี้อาจทำ�ความ ำ สะอาดตามหลักสุขาภิบาลได้ยาก (Klaunberg and Davis 2008; Lipman 2006) ถ้าแหล่งสำ�หรับฉายภาพอยู่ นอกสถานที่สำ�หรับสัตว์ ควรกำ�หนดวิธีการและเส้นทางขนส่งสัตว์ที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนของ คนในระหว่างการรอขนย้ายสัตว์ ถ้าเป็นไปได้สตว์ไม่ควรถูกเคลือนย้ายผ่านสำ�นักงาน ห้องอาหาร หรือบริเวณ ั ่ สาธารณะต่างๆ ที่มักมีคนอยู่ ถ้าการฉายภาพกำ�หนดให้สัตว์ต้องอยู่นิ่ง มักเป็นระยะเวลายาวนานระหว่างการเก็บบันทึกภาพ ควร จัดให้มการให้ยาสลบและก๊าซตัวนำ� การกำ�จัดก๊าซของเสียจากการดมยาสลบและการตรวจสอบดูแลสัตว์อย่าง ี พอเพียง (Balaban and Hampshire 2001) มักกำ�หนดให้ใช้ถังก๊าซที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ในสถานที่ซึ่ง ใช้เครื่องสแกนการสะท้อนคลื่นแม่เหล็ก (MR) เพราะสนามแม่เหล็กต้องการให้สารที่มีเหล็กเก็บห่างออกไป จากแม่เหล็ก อย่างปลอดภัย การเลือกตำ�แหน่งตั้งเครื่องสแกน MR ต้องการการใส่ใจเป็นพิเศษเพราะว่า น้ำ�หนักของเครื่อง ขอบเขตของสนามแม่เหล็กที่สร้างขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ห่างจากแม่เหล็กที่ไม่มีกำ�บัง) และผลกระทบของธาตุเหล็กของโครงสร้างอาคารหรือส่วนประกอบของมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งต่างๆ ที่ไม่อยู่นิ่ง (เช่น บันไดเลื่อน) เพราะสิ่งเหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อความสม่ำ�เสมอของสนามแม่เหล็ก เครื่อง สแกน MR โดยส่วนใหญ่ถูกเหนี่ยวนำ�การทำ�งานอย่างยิ่งยวดและต้องการสารหล่อเย็น เพราะว่าการระเหิด แห้งของสารหล่อเย็นสามารถทำ�ให้ทั้งมนุษย์และสัตว์ขาดอากาศ ห้องที่มีเครื่องสแกน MR หรือการมีก๊าซ ทีใช้ส�หรับหล่อเย็นเก็บอยูจะต้องติดตังเครืองตรวจจับออกซิเจนและมีวธการเพิมการระบายอากาศของห้อง ่ ำ ่ ้ ่ ิี ่ เพื่อปล่อยก๊าซเฉื่อยต่างๆระหว่างการเติมสารหล่อเย็น (Klauanberg and Davis 2008) เครืองฉายภาพหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิงชนิดต่างๆ ทีถกออกแบบสำ�หรับสัตว์ขนาดเล็กมีทกอย่าง ่ ่ ู่ ุ อยู่ครบในตัวเครื่องและไม่ต้องการการคำ�นึงโครงสร้างของอาคารพิเศษแต่อย่างใด ควรให้มีตำ�แหน่ง แผงควบคุมห่างจากเครื่องฉายซึ่งปล่อยการแตกตัวของไอออนหรือแผ่คลื่นแม่เหล็ก เครื่องฉายภาพต่างๆ ที่มีส่วนประกอบซึ่งยากต่อการทำ�ความสะอาดตามหลักสุขาภิบาล เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถูกคลุมด้วยวัสดุ ที่ใช้แล้วทิ้งหรือชนิดที่ท�ความสะอาดตามหลักสุขาภิบาล ำ การฉายรังสีทั้งตัว การฉายรังสีทั้งตัวในสัตว์ขนาดเล็กอาจทำ�ได้โดยการใช้เครื่องมือซึ่งปล่อยรังสีแกมม่าหรือรังสีเอ็กซ์ เครื่องมือต่างๆ มักติดตั้งเกราะกำ�บังที่ตัวเครื่องและอาจต้องให้มีการพิจารณาตำ�แหน่งเป็นพิเศษเพราะ น้ำ�หนักของวัสดุที่เป็นเกราะกำ�บัง เครื่องที่มีแหล่งปล่อยรังสีแกมม่าต้องปฏิบัติตามกฎข้อบังคับที่กำ �หนด ให้มีมาตรการความปลอดภัยเป็นพิเศษ มีการตรวจตราควบคุมและการกำ�หนดให้ทบทวนสืบประวัติบุคลากร เพื่อการอนุญาต (Nuclear Regulatory Commission 2008) ตำ�แหน่งที่ถูกเลือกสำ�หรับเครื่องแผ่รังสีควรคำ�นึง

148 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ว่าเครื่องถูกใช้กับสัตว์และชีวภัณฑ์ ตลอดจนแหล่งและสถานะทางสุขภาพของสัตว์ที่ถูกฉายรังสี การวาง ตำ�แหน่งเครืองอยูภายในสถานทีส�หรับสัตว์อาจมีการกำ�หนดการเข้าของบุคลากรผูทตามปกติแล้วไม่เกียวข้อง ่ ่ ่ำ ้ ี่ ่ หรืออาจจำ�เป็นต้องมีการนำ�สัตว์เข้าในสถานที่ซึ่งสัตว์ไม่ได้ถูกเลี้ยงอยู่ตามปกติ การกักเก็บสิ่งอันตราย เป้าหมายของสถานกักเก็บคือเพือ “ลดหรือกำ�จัดการคุกคามจากสารทีอาจมีอนตรายต่างๆ ต่อพนักงาน ่ ่ ั ห้องปฏิบัติการ บุคคลอื่นและสภาพแวดล้อมภายนอก” (DHHS 2010) สิ่งนี้สามารถทำ�ได้โดยการใช้วิธีปฏิบัติ และอุปกรณ์ที่เหมาะสม การให้วัคซีนแก่บุคลากรถ้ามีวัคซีนใช้ และการทำ�ให้มั่นใจว่ามีการออกแบบและการ จัดการอาคารสถานที่อย่างถูกต้อง สถานทีส�หรับสัตว์ทถกใช้ส�หรับศึกษาสารชีวภาพต่างๆ ทีมการติดเชือสูมนุษย์ถกจำ�แนกประเภทออก ่ำ ี่ ู ำ ่ ี ้ ่ ู เป็นหลายระดับความปลอดภัยทางชีวภาพซึ่งต้องมีการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดที่เพิ่มมากขึ้น ดังอธิบายไว้ ใน ความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีวะและชีวการแพทย์ (BMBL; DHHS 2009 หรือ ฉบับใหม่ล่าสุด) ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของสัตว์ (ABSL) แต่ละระดับแสดงการร่วมกันใช้เทคนิค ปฏิบัติ อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย และสถานที่บนพื้นฐานความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของมนุษย์ ดังได้อธิบาย ไว้ใน BMBLฉบับปี ค.ศ. 2009 ABSL-1 เก็บเชื้อที่ทราบว่าไม่ทำ�ให้เกิดการติดเชื้อในมนุษย์ ABSL-2 เก็บเชื้อ ที่มีความเสี่ยงปานกลางที่เป็นสาเหตุของโรคในมนุษย์โดยการกิน หรือ การสัมผัสผ่านผิวหนังหรือเยื่อ เมือก ABSL-3 เก็บเชื้อที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อรุนแรงและมีโอกาสเสียชีวิตและตระหนักว่ามีโอกาส แพร่กระจายโดยทางละอองในอากาศ ABSL-4 เก็บเชื้อที่ไม่มีในท้องถิ่น (มาจากต่างประเทศ) ซึ่งมีความเสี่ยง ของบุคคลต่อโรคได้อย่างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตและไม่มีวัคซีนป้องกันหรือวิธีรักษา การออกแบบสถานที่ เกณฑ์ทางวิศวกรรม วิธการก่อสร้าง การตรวจสอบเพือรับมอบอาคารและการทดสอบยืนยันว่าปฏิบตถกต้อง ี ่ ั ิ ู มีความสำ�คัญในแต่ละระดับซึงเข้มงวดมากขึน ควรใส่ใจอย่างรอบคอบในการเลือกทีมผูเชียวชาญผูรบผิดชอบ ่ ้ ้ ่ ้ั การออกแบบ วิศวกรรม การก่อสร้าง และการตรวจสอบเพื่อรับมอบสถานที่กักเก็บเชื้อ มีการกำ�หนดแนวทางสำ�หรับการกักเก็บเชื้อก่อโรคในการเกษตร (USDA ARS 2002) การรวมกันใหม่ ของดีเอ็นเอในโมเลกุล (NIH 2002) แมลงพาหะนำ�เชื้อโรค (ACME, ASTMH 2003) และสารเคมีอันตราย (NRC 1995) สารชีวภาพและท็อกซินที่มีภัยต่อสุขภาพของสัตว์และพืช สาธารณสุขและความปลอดภัย และ สถานที่ซึ่งมีสิ่งเหล่านี้ ต้องปฏิบัติสอดคล้องกับกฎข้อบังคับเฉพาะเชื้อที่คัดเลือก (select agent) ของ APHIS, USDA และ CDC (CFR 2005; CDC and DHHS 1996; PL 107-56; PL 107-188) และ/หรือ กฎข้อบังคับ ต่างๆ ของรัฐบาลกลาง รัฐและท้องถิ่นที่ต้องปฏิบัติตาม กฎข้อบังคับเหล่านี้กำ�หนดตามข้อบังคับอื่นๆ ว่า สถาบันที่ลงทะเบียนเพื่อใช้เชื้อที่คัดเลือกต้องพัฒนาและปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยอย่างเข้มงวด รูปแบบที่เฉพาะของสถานที่ อุปกรณ์และเทคนิคการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยที่จะทำ�ตามจะขึ้น กับการแพร่กระจายขอบเขตออกไปค่อนข้างมาก ขึ้นอยู่กับภัยเฉพาะที่เชื้อแตกตัวเป็นอนุภาคหรือระเหย ได้หรือไม่ หรือเป็นได้ทั้งสองแบบ รูปแบบของสถานที่ซึ่งสอดคล้องกับภัยอันตรายทั้งหมด ได้แก่ การแยก

กายภาพของสถานที่ 149 สัตว์และสิงปฏิกลของสัตว์ให้อยูตางหาก การให้พนผิวของห้องทีเรียบสนิทต่อเนืองกันเป็นผืนเดียวซึงไม่ยอม ่ ู ่ ่ ื้ ่ ่ ่ ให้ฝุ่นสะสมและง่ายต่อการทำ�ความสะอาดตามหลักสุขาภิบาล มีอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศเพิ่มขึ้นเพื่อ เจือจางการปนเปื้อนสภาพแวดล้อมถ้าเกิดขึ้น มีความแตกต่างความดันอากาศเพื่อให้มั่นใจว่าบริเวณที่เก็บ สิ่งอันตรายมีความดันอากาศเป็นลบเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณโดยรอบ มีระบบการให้สัตว์อาศัยอยู่ แบบพิเศษ (ถ้าทำ�ได้) และมีอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยอย่างเหมาะสม เช่น ตู้ชีวนิรภัย หรือ ตู้เฉพาะสำ�หรับ สารเคมี (CDC and NIH 2007) มีเอกสารอ้างอิงอยู่เป็นจำ�นวนมากที่ให้การสรุปประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสถานที่เก็บกักสิ่งอันตราย (Frazier and Talka 2005; Lehner et al. 2008; Lieberman 1995; NRC 1989, 1995) การศึกษาทางพฤติกรรม ควรใส่ใจเป็นพิเศษเมื่อวางแผนสถานที่สำ�หรับพฤติกรรมในทุกๆ ด้าน การออกแบบ การก่อสร้าง และ การใช้ซงอาจสร้างสภาวะต่างๆ ทีกระตุนความสามารถของการทดสอบสัตว์อย่างไม่เหมาะสม มักจำ�เป็นต้อง ึ่ ่ ้ เก็บรักษาสัตว์ไว้ในสภาพแวดล้อมหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างช่วงเวลาการทดสอบและการเฝ้าสังเกต อาการ ร่วมด้วยการควบคุมสิ่งกระตุ้นการได้ยิน การมองเห็น การสัมผัส และการได้กลิ่นอย่างเข้มงวด ควร เลือกตำ�แหน่งทีตง ตลอดจนวิธทางวิศวกรรมและทำ�การก่อสร้างอย่างรอบคอบ เพือลดการแพร่กระจายเสียง ่ ั้ ี ่ ผ่านอากาศ และความสั่นสะเทือนที่ถูกส่งผ่านมาตามพื้นดินให้มีน้อยที่สุด เสียงและการสั่นสะเทือนอาจเริ่มมาจากโครงสร้างของอาคาร อุปกรณ์ของอาคารหรือจากกิจกรรม ของมนุษย์ (ดูบทที่กล่าวถึงเสียง) ความถี่และความเข้มของเสียงซึ่งกระตุ้นการตอบสนองทางการได้ยินใน สัตว์ที่ถูกศึกษาควรให้แนวทางการคัดเลือกวัสดุที่ใช้ก่อสร้าง เทคนิคและอุปกรณ์เพื่อลดการล่วงล้ำ�ให้มีน้อย ที่สุด ตัวอย่างเช่น ควรออกแบบระบบ HVAC และคัดเลือกส่วนประกอบต่างๆ เพื่อให้มั่นใจว่าไม่ทำ�ให้ เกิดเสียง รวมทังทีมความถีเหนือเสียง ควรใช้ระบบประกาศเตือนไฟไหม้ทปล่อยเสียงทีความถีซงสัตว์ฟนแทะ ้ ่ ี ่ ี่ ่ ่ ึ่ ั ไม่ได้ยน ควรติดอุปกรณ์บนประตูเพือช่วยให้ปดได้เงียบ ควรเก็บอุปกรณ์ทไม่จ�เป็นซึงส่งเสียงดังไว้นอกบริเวณ ิ ่ ิ ี่ ำ ่ ทดสอบ และควรลดการจราจรของบุ ค ลากรทั้ ง ในบริ เวณทดสอบสั ต ว์ แ ละบริ เวณถั ด ไปให้ มี น้ อ ยที่ สุ ด (Heffner and Heffner 2007) ควรใส่ใจการควบคุมสิงกระตุนการมองเห็นซึงเบียงเบนจากปกติ โดยเฉพาะอย่าง ่ ้ ่ ่ ยิงในการศึกษาวงจรกลางวันกลางคืน การเลือกชนิด ความเข้มและการควบคุมแสงสว่างจะแตกต่างจากบริเวณ ่ อืนๆ ของสถานทีส�หรับสัตว์ ยังต้องมีการอำ�นวยความสะดวกด้านทีอยูสตว์และระบบการทดสอบแบบพิเศษ ่ ่ ำ ่ ่ ั ในสถานที่นี้ด้วย ควรคำ�นึงถึงรูปแบบการก่อสร้างเป็นพิเศษ การมีประตูสองชั้นระหว่างโถงย่อยก่อนเข้าห้องทดสอบ พฤติกรรม การมีหองชุดเพือการทดสอบหรือมีหองทดสอบแยกเฉพาะอาจมีประโยชน์ เพราะสามารถป้องกัน ้ ่ ้ เสียง กลิ่นและแสงไม่ให้เข้าไปในห้องทดสอบพฤติกรรม ควรเลือกสารเคลือบบนพื้นซึ่งลดการกระจายเสียง ห้องทดสอบอาจต้องการท่อระบายน้ำ�ที่พื้น แหล่งน้ำ�และเพิ่มภาระการรับน้ำ�หนักเพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ ที่ใช้ทดสอบทางพฤติกรรม ควรพิจารณารูปแบบและจำ�นวนของอุปกรณ์อิเลคโทรนิคและอุปกรณ์อื่นๆ

150 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ทีใช้เพือให้มนใจว่าระบบสามารถรองรับปริมาณความร้อนทีเกียวข้อง การกักอากาศและความแตกต่างระหว่าง ่ ่ ั่ ่ ่ พื้นที่สามารถให้การแบ่งแยกกลิ่นของสัตว์และกิจกรรมต่างๆ ดังนั้นจึงลดความเสี่ยงของการตอบสนองทาง พฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไป (ASHRAE 2007c) เมือทำ�ได้ควรออกแบบอุปกรณ์ส�หรับทดสอบด้วยวิถทางทีสามารถทำ�การฆ่าเชือพืนผิวระหว่างแต่ละ ่ ำ ี ่ ้ ้ การทดลอง ควรให้อุปกรณ์ที่ไม่สามารถทำ�ความสะอาดหรือฆ่าเชื้อ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลอยู่ในบริเวณที่ไม่สัมผัสโดยตรงกับสัตว์และควรปิดคลุมเมื่อไม่ใช้ (การใช้ที่คลุมแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ อาจจะมีประโยชน์) ควรคำ�นึงถึงการให้มีพื้นที่สำ�หรับเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ด้านพฤติกรรมอย่างพอเพียง เพราะการเคลื่อนย้ายเข้าและออกจากบริเวณทดสอบอาจเปลี่ยนการตอบสนองทางพฤติกรรม ควรพิจารณา ให้มีที่เลี้ยงสัตว์อยู่ใกล้ชิดกับบริเวณที่ใช้สำ�หรับทดสอบ ถ้าจัดสถานที่ดังกล่าวให้ที่เหล่านั้นควรสอดคล้อง กับข้อกำ�หนดที่ระบุไว้ในข้อแนะนำ� ที่อยู่สำ�หรับสัตว์น้ำ� รูปแบบการก่อสร้างหลายๆอย่างทีได้กล่าวถึงก่อนหน้าแล้วใช้ได้กบสัตว์น้ำ� แต่ควรพิจารณาโดยเฉพาะ ่ ั เจาะจงเรื่องระบบที่อยู่และวิธีสำ�หรับการดำ�รงสภาพแวดล้อมของสัตว์น� ้ำ ความซับซ้อนของระบบยังชีพขึ้นอยู่กับชนิดของสัตว์และขนาด ชนิดและจำ�นวนของตู้และจำ�นวนของ สัตว์ที่ระบบสนับสนุน ระบบทั้งหมดต้องการแหล่งน้ำ�ซึ่งอาจต้องมีการบำ�บัดก่อนการใช้ (เช่น การฆ่าเชื้อ ด้วยแสงอัลตร้าไวโอเลตและการกรองอนุภาคด้วยคาร์บอน และการกรองความละเอียดสูง) ควรมีท่อระบาย น้ำ�ที่มีขนาดและจำ�นวนเหมาะสมในบริเวณที่เก็บสัตว์น้ำ� เพื่อสนองการปล่อยน้ำ�ทิ้งระหว่างการใช้งานและ การบำ�รุงรักษาหรือเมือเกิดผลกระทบของระบบยังชีพหรือเมือตูขดข้อง ท่อน้�ทิงไม่ควรปล่อยให้สตว์สามารถ ่ ่ ้ั ำ ้ ั หลุดลอดหรือสิ่งอันตรายออกไปสู่ระบบสุขาภิบาลโดยไม่ผ่านการบำ�บัดอย่างเหมาะสม วัสดุที่ใช้สำ�หรับพื้น ผนัง และฝ้าเพดานไม่ควรซึมซับน้ำ� ขณะที่พื้นควรทนการลื่นไถล และสามารถทน ภาระการมีน้ำ�ในปริมาณมาก ระบบเต้าจ่ายไฟฟ้าและวงจรควรมีการตัดไฟลงดินได้เพื่อป้องกันไฟฟ้าดูด บุคลากรและสัตว์ ประตูและกรอบ ช่องจ่ายลม ท่อรับอากาศปล่อยออก โคมไฟ ท่อและส่วนประกอบ ของ HVAC (ซึ่งสัมผัสต่อความชื้นสูง หรือการกัดกร่อน) และส่วนประกอบอื่นที่เป็นโลหะควรทำ�จากวัสดุ ที่ทนความชื้นและการผุกร่อน ระบบที่อยู่อาศัย ส่วนประกอบของระบบยังชีพและระบบท่อน้ำ�ซึ่งใช้จ่ายน้ำ� หลังการบำ�บัดรวมทังกาวทีใช้ยดชินส่วนเข้าด้วยกันควรเป็นวัสดุซงไม่เป็นพิษและเฉือยต่อปฏิกรยาทางชีวภาพ ้ ่ ึ ้ ึ่ ่ ิิ ถ้าใช้ระบบ HVAC ของสภาพแวดล้อมมหภาค/ห้องเป็นวิธีการแรกสำ�หรับทำ�ให้สภาพแวดล้อมสัตว์น้ำ� เหมาะสม ควรจัดให้มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอเพื่อลดการสะสมควมชื้นที่พื้นผิวของห้อง และรักษา อุณหภูมิที่เหมาะสมสำ�หรับสัตว์ที่เลี้ยง

กายภาพของสถานที่ 151 การรักษาความปลอดภัยและการควบคุมการเข้าออก เหตุการณ์การคุกคามโดยผู้ก่อการร้ายภายในประเทศที่ผ่านมาเมื่อเร็วๆนี้ได้เพิ่มการรับรู้ความสำ�คัญ ของการรักษาความปลอดภัยของสถานทีเลียงสัตว์ให้มมากขึน แต่ยงมีสาเหตุอนๆ อีกทีท�ไมจึงควรมีมาตรการ ่ ้ ี ้ ั ื่ ่ ำ ความปลอดภัยและการควบคุมการเข้าออก สัตว์ส่วนใหญ่ที่มีไว้เพื่อการวิจัยมีความอ่อนแอต่อการติดเชื้อ โดยบังเอิญ และดังนั้นการเข้าถึงสัตว์เหล่านั้นควรถูกควบคุมอย่างเข้มงวดและให้เข้าได้เฉพาะบุคลากรผู้ผ่าน การฝึกอบรมอย่างเหมาะสมและมีเหตุผลจำ�เป็นเพื่อเข้าถึงสัตว์ สัตว์ที่ใช้ในการศึกษากับสิ่งอันตรายต้องมี ข้อควรระวังเป็นพิเศษสำ�หรับบุคลากรก่อนการเข้า และเจ้าหน้าทีผเข้ามาในสถานทีส�หรับสัตว์ควรได้ผานการ ่ ู้ ่ ำ ่ ฝึกอบรมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของสถาบันแล้ว เมื่อทำ�ได้สถานที่สำ�หรับสัตว์ควรตั้งอยู่ภายในโครงสร้างอีกชั้นหนึ่งโดยมีรูปแบบมาตรการความ ปลอดภัยอย่างอิสระเป็นของตัวเอง การเข้าออกของยานยนต์ควรมีจำ�กัดและถ้ายอมให้เข้าควรควบคุม และตรวจสอบติดตาม มาตรการความปลอดภัยและการควบคุมการเข้ามักแบ่งเป็นโซน เริ่มต้นที่รอบนอกโดยมีบริเวณอื่นๆ ที่มีมาตรการความปลอดภัยสูงที่สุดอยู่ภายในโซนอื่น วิธีการควบคุมอาจประกอบด้วยบุคลากรรักษาความ ปลอดภัย การกั้นหรือกีดขวางทางกายภาพและเครื่องมือควบคุม ขอบเขตของระบบรักษาความปลอดภัย ควรขึ้นอยู่กับขนาดของสถานที่ ตลอดจนลักษณะของกิจกรรมที่ทำ�อยู่ภายใน เมื่อมีการขยายมากขึ้น การ ควบคุมการเข้าออกถูกขยายจากรอบนอกสถานที่สู่ห้องเก็บสัตว์แต่ละห้อง มักใช้ระบบรักษาความปลอดภัย ทีควบคุมโดยไมโครโปรเซสเซอร์เพราะจำ�นวนจุดควบคุมและพนักงานทีตองเข้ามีมาก ระบบเหล่านีมกใช้กญแจ ่ ่ ้ ้ ั ุ อิเล็กโทรนิคหรือบัตรพร็อกซิมิตี้ และเครื่องอ่านที่ทำ�หน้าที่ร่วมกัน ซึ่งนอกจากการควบคุมการเข้าแล้ว ยังสามารถบันทึกเวลา สถานที่และระบุตัวบุคคลในการเข้าออกแต่ละครั้ง ในบริเวณที่อ่อนไหวมากกว่า เครื่องอ่านอัตตลักษณ์บุคคล เช่น เครื่องอ่านลายนิ้วหัวแม่มือหรือฝ่ามือ หรือเครื่องอ่านม่านตาอาจ มีความเหมาะสมมากกว่าเพราะบัตรอิเล็กโทรนิคอาจถูกใช้ร่วมกันได้ การเสริมมาตรการความปลอดภัย อาจทำ � โดยระบบเฝ้าระวัง ด้วยอิเล็กโทรนิคและกล้องวีดีโอ ระบบเหล่านี้อาจถูก ควบคุมด้วยบุคลากร หรืออุปกรณ์ที่บันทึกเมื่อจับการเคลื่อนไหวได้ เอกสารอ้างอิง ACME, ASTMH [American Committee of Medical Entomology, American Society of Tropical Medicine and Hygiene]. 2003. Arthropod Containment Guidelines. Vector-Borne Zoonotic Dis 3:61-98. AORN [Association of Operating Room Nurses]. 1993. Recommended practices: Traffic patterns in the surgical suite. AORN J 57:730.

152 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ASHRAE [American Society of Heating, Refrigeration, and Air Conditioning Engineers]. 2007a. Chapter 22: Environmental control for animals and plants. In 2007 ASHRAE Handbook: Fundamentals, I-P ed. Atlanta. ASHRAE. 2007b. Chapter 47: Sound and vibration control. In 2007 ASHRAE Handbook: HVAC Applications. Atlanta. ASHRAE. 2007c. Chapter 45: Control of gaseous indoor air contaminants. In 2007 ASHRAE Handbook: HVAC Applications. Atlanta. ASHRAE. 2008. Chapter 28: Air cleaners for particulate contaminants. In 2008 ASHRAE Handbook: HVAC Systems and Equipment. Atlanta. ASHRAE. 2009. Chapter 14: Climatic design information. In 2009 ASHRAE Handbook: Fun- damentals. Atlanta. Ayliffe GAJ. 1991. Role of the environment of the operating suite in surgical wound infection. Rev Infect Dis 13(Suppl 10):S800-S804. Ayscue D. 1986. Operating room design: Accommodating lasers. AORN J 41:1278-1285. Balaban RS, Hampshire VA. 2001. Challenges in small animal noninvasive imaging. ILAR J 42:248-262. Bartley JM. 1993. Environmental control: Operating room air quality. Today’s OR Nurse 15:11-18. BSSC [Building Seismic Safety Council]. 2001. National Earthquake Hazards Reduction Program Recommended Provisions for Seismic Regulations for New Buildings and Other Structures, 2000 ed, FEMA 369. Washington: FEMA. CDC and DHHS [Centers for Disease Control and Prevention and Department of Health and Human Services]. 1996. Additional requirements for facilities transferring or receiving select agents. Final Rule, Federal Register 61:55189-55200. October 24. CDC and NIH [Centers for Disease Control and Prevention and National Institutes of Health]. 2007. Primary Containment for Biohazards: Selection, Installation and Use of Biological Safety Cabinets, 3rd ed. Washington: Government Printing Office. Available at www.cdc. gov/biosafety/publications/bmbl5/BMBL5_appendixA.pdf; accessed July 15, 2010. CFR [Code of Federal Regulations]. 2005. 7 CFR Part 331 and 9 CFR Part 121, Agricultural Bioterrorism Protection Act of 2002. USDA, APHIS, Possession, use and transfer of biological agents and toxins. 42 CFR Part 1003, Final Rule, Department of Health and Human Services, March. Chatham JC, Blackband SJ. 2001. Nuclear magnetic resonance spectroscopy and imaging in animal research. ILAR J 42:189-208. Cherry SR, Gambhir SS. 2001. Use of positron emission tomography in animal research. ILAR J 42:219-232. DHHS [Department of Health and Human Services]. 2009. Biosafety in Microbiological and Biomedical Laboratories, 5th ed. Chosewood LC, Wilson DE, eds. Washington: Gover- nment Printing Office. Available at http://www.cdc.gov/biosafety/publications/bmbl5/ index.htm; accessed July 30, 2010. Eastman C, Teicholz P, Sacks R, Liston K. 2008. BIM Handbook: A Guide to Building Information Modeling for Owners, Managers, Designers, Engineers, and Contractors. Hoboken, NJ: John Wiley and Sons. Fitzgerald RH. 1979. Microbiologic environment of the conventional operating room. Arch Surg 114:772-775. Frazier D, Talka J. 2005. Facility design considerations for select agent animal research. ILAR J 46:23-33. Gorton RL, Besch EL. 1974. Air temperature and humidity response to cleaning water loads in laboratory animal storage facilities. ASHRAE Trans 80:37-52. Harris CM. 2005. Dictionary of Architecture and Construction, 4th ed. Columbus, OH: McGraw-Hill.

กายภาพของสถานที่ 153 Heffner HE, Heffner RS. 2007. Hearing ranges of laboratory animals. JAALAS 46:20-22. Hessler JR. 1991. Facilities to support research. In: Ruys T, ed. Handbook of Facility Planning, vol 2: Laboratory Animal Facilities. New York: Van Nostrand. p 34-55. Hessler JR. 2008. Barrier housing for rodents. In: Hessler J, Lehner N, eds. Planning and Designing Animal Research Facilities. Amsterdam: Academic Press. p 335-345. Holton J, Ridgway GL. 1993. Commissioning operating theatres. J Hosp Infect 23:153-160. Huerkamp MJ, Thompson WD, Lehner NDM. 2003. Failed air supply to individually ventilated caging system causes acute hypoxia and mortality of rats. Contemp Top Lab Anim Sci 42:44-45. Humphreys H. 1993. Infection control and the design of a new operating theatre suite. J Hosp Infect 23:61-70. Jacobs GH, Fenwick JA, Williams GA. 2001. Cone-based vision of rats for ultraviolet and visible lights. J Exp Biol 204:2439-2446. Klaunberg BA, Davis JA. 2008. Considerations for laboratory animal imaging center design and setup. ILAR J 49:4-16. Knecht CD, Allen AR, Williams DJ, Johnson JH. 1981. Fundamental Techniques in Veterinary Surgery, 2nd ed. Philadelphia: WB Saunders. Kowalski WJ, Bahnfleth WP, Carey DD. 2002. Engineering control of airborne disease transmission in animal laboratories. Contemp Top Lab Anim Sci 41:9-17. Lehner NDM, Crane JT, Mottet MD, Fitzgerald ME. 2008. Biohazards: Safety practices, operations, and containment facilities. In: Hessler J, Lehner N, eds. Planning and Designing Research Animal Facilities. London: Academic Press. p 347-364. Lieberman D. 1995. Biohazards Management Handbook, 2nd ed. New York: Marcel Dekker. Lipman NS. 2006. Design and management of research facilities for mice. In: Fox J, Barthold S, Newcomer C, Smith A, Quimby F, Davisson M, eds. The Mouse in Biomedical Research, 2nd ed, vol III. London: Academic Press. p 270-317. Lipman NS. 2008. Rodent facilities and caging systems. In: Hessler J, Lehner N, eds. Planning and Designing Animal Research Facilities. Amsterdam: Academic Press. p 265-288. Lyubarsky AL, Falsini B, Pennesi ME, Valentini P, Pugh ENJ. 1999. UV- and midwave sensitive cone-driven retinal responses of the mouse: A possible phenotype for coexpression of cone photopigments. J Neurosci 19:442-455. NIH [National Institutes of Health]. 2002. Guidelines for Research Involving Recombinant DNA Molecules. Available at http://oba.od.nih.gov/rdna/nih_guidelines_oba.html; accessed May 15, 2010. NRC [National Research Council]. 1989. Biosafety in the Laboratory: Prudent Practices for Handling and Disposal of Infectious Materials. Washington: National Academy Press. NRC. 1995. Prudent Practices in the Laboratory: Handling and Disposal of Chemicals. Washington: National Academy Press. NRC. 1996. Laboratory Animal Management: Rodents. Washington: National Academy Press. Nuclear Regulatory Commission. 2008. NRC Regulatory Issue Summary 2008-02, Actions to Increase the Security of High Activity Radioactive Sources. Washington: NRC Office of Federal and State Materials and Environmental Management Programs. PL [Public Law] 107-56. 2001. Uniting and Strengthening America by Providing Appropriate Tools Required to Intercept and Obstruct Terrorism (USA PATRIOT) Act of 2001. Washington: Government Printing Office. PL 107-188. 2002. Public Health Security and Bioterrorism Preparedness and Response Act of 2002. Washington: Government Printing Office. Reynolds SD. 2008. Using computational fluid dynamics (CFD) in laboratory animal facilities. In: Hessler J, Lehner N, eds. Planning and Designing Research Animal Facilities. Amsterdam: Academic Press. p 479-488.

154 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Ross S, Schapiro S, Hau J, Lukas K. 2009. Space use as an indicator of enclosure appropriate- ness: A novel measure of captive animal welfare. Appl Anim Behav Sci 121:42-50. Ruys T. 1991. Handbook of Facilities Planning, vol 2. New York: Van Nostrand Reinhold. Schonholtz GJ. 1976. Maintenance of aseptic barriers in the conventional operating room. J Bone Joint Surg 58:439-445. Sun H, Macke JP, Nathans J. 1997. Mechanisms of spectral tuning in the mouse green cone pigment. Proc Natl Acad Sci USA 94:8860-8865. UFAW [Universities Federation for Animal Welfare]. 1989. Guidelines on the Care of Laboratory Animals and Their Use for Scientific Purposes, III: Surgical Procedures. Herts, UK. USDA ARS [United States Department of Agriculture Animal Research Services]. 2002. ARS Facilities Design Standards. Pub. 242.01 Facilities Division, Facilities Engineering Branch, AFM/ARS. Washington: Government Printing Office. Vogelweid CM, Hill JB, Shea RA, Johnson DB. 2005. Earthquakes and building design: A primer for the laboratory animal professional. Lab Anim (NY) 34:35-42. Warnock ACC, Quirt JD. 1994. Chapter 5: Airborne Sound Insulation and Appendix 5 Tables on Sound Transmission Loss. In: Harris CM, ed. Noise Control in Buildings: A Practical Guide for Architects and Engineers. Columbus OH: McGraw-Hill. p 5.1-5.32; 5.33-5.77.

Next: Addendum »
Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version Get This Book
×
 Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version
MyNAP members save 10% online.
Login or Register to save!
Download Free PDF

This report is the Thai translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition.

A respected resource for decades, the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals has been updated by a committee of experts, taking into consideration input from the scientific and laboratory animal communities and the public at large. The Guide incorporates new scientific information on common laboratory animals, including aquatic species, and includes extensive references. It is organized around major components of animal use:

  • Key concepts of animal care and use. The Guide sets the framework for the humane care and use of laboratory animals.
  • Animal care and use program. The Guide discusses the concept of a broad Program of Animal Care and Use, including roles and responsibilities of the Institutional Official, Attending Veterinarian and the Institutional Animal Care and Use Committee.
  • Animal environment, husbandry, and management. A chapter on this topic is now divided into sections on terrestrial and aquatic animals and provides recommendations for housing and environment, husbandry, behavioral and population management, and more.
  • Veterinary care. The Guide discusses veterinary care and the responsibilities of the Attending Veterinarian. It includes recommendations on animal procurement and transportation, preventive medicine (including animal biosecurity), and clinical care and management. The Guide addresses distress and pain recognition and relief, and issues surrounding euthanasia.
  • Physical plant. The Guide identifies design issues, providing construction guidelines for functional areas; considerations such as drainage, vibration and noise control, and environmental monitoring; and specialized facilities for animal housing and research needs.

The Guide for the Care and Use of Laboratory Animals provides a framework for the judgments required in the management of animal facilities. This updated and expanded resource of proven value will be important to scientists and researchers, veterinarians, animal care personnel, facilities managers, institutional administrators, policy makers involved in research issues, and animal welfare advocates.

READ FREE ONLINE

  1. ×

    Welcome to OpenBook!

    You're looking at OpenBook, NAP.edu's online reading room since 1999. Based on feedback from you, our users, we've made some improvements that make it easier than ever to read thousands of publications on our website.

    Do you want to take a quick tour of the OpenBook's features?

    No Thanks Take a Tour »
  2. ×

    Show this book's table of contents, where you can jump to any chapter by name.

    « Back Next »
  3. ×

    ...or use these buttons to go back to the previous chapter or skip to the next one.

    « Back Next »
  4. ×

    Jump up to the previous page or down to the next one. Also, you can type in a page number and press Enter to go directly to that page in the book.

    « Back Next »
  5. ×

    To search the entire text of this book, type in your search term here and press Enter.

    « Back Next »
  6. ×

    Share a link to this book page on your preferred social network or via email.

    « Back Next »
  7. ×

    View our suggested citation for this chapter.

    « Back Next »
  8. ×

    Ready to take your reading offline? Click here to buy this book in print or download it as a free PDF, if available.

    « Back Next »
Stay Connected!