Skip to main content

Currently Skimming:

4 (Veterinary Care)
Pages 106-133

The Chapter Skim interface presents what we've algorithmically identified as the most significant single chunk of text within every page in the chapter.
Select key terms on the right to highlight them within pages of the chapter.


From page 106...
... การดูแลทางการสัตวแพทย์ 105 4 การดูแลทางการสัตวแพทย์ (Veterinary Care)
From page 107...
... 106 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง โปรแกรมการดู แ ลทางการสั ต วแพทย์ เ ป็ น หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของสั ต วแพทย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ (Attending Veterinarian, AV)
From page 108...
... การดูแลทางการสัตวแพทย์ 107 ทราบหรือไม่สามารถควบคุมพื้นฐานที่มาของสัตว์จากแหล่งเหล่านี้ และมีโอกาสนำ�ความเสี่ยงต่อสุขภาพ ต่างๆ สู่บุคลากรและสัตว์อื่นๆในอาคาร ควรจัดสร้างตั้งฝูงเพาะขยายพันธุ์สัตว์บนพื้นฐานความจำ�เป็น และจัดการโดยสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การลดจำ�นวนสัตว์ เช่น การเก็บแช่เยือกแข็งของสายพันธุหรือเชือสาย ์ ้ สัตว์ฟันแทะ (Robinson et al.
From page 109...
... 108 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง หรือมีผรบสัตว์เหล่านีถาการขนส่งเกิดนอกเวลา การมอบหมายหน้าทีและการมอบหน้าทีให้ทำ�แทนแก่บคลากร ู้ ั ้้ ่ ่ ุ ที่เหมาะสม ผู้มีความรู้เกี่ยวกับความจำ�เป็นของสัตว์ชนิดที่ถูกขนส่งจะช่วยให้มั่นใจว่าการขนส่งสัตว์มีการ สื่อสารและการวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ (AVMA 2002) สัตว์ทั้งหมดที่อยู่ระหว่างรอส่งต่อภายในสถาบันและระหว่างสถาบันหรือรอศาลตัดสิน ควรมากับ เอกสารที่เหมาะสมเพื่อลดความล่าช้าในการส่งและการรับให้มีน้อยที่สุด เอกสารอาจประกอบด้วยใบรับรอง สุขภาพ ที่อยู่ของสถาบันผู้ส่งและผู้รับ และข้อมูลของผู้ติดต่อ และใบอนุญาตจากหน่วยงานตามความจำ�เป็น สำ�หรับสัตว์ทมาจากแหล่งทีไม่ใช่การค้า เป็นความสำ�คัญโดยเฉพาะสำ�หรับสัตวแพทย์หรือผูท�การแทน ี่ ่ ้ ำ สัตวแพทย์เพือทบทวนสถานะสุขภาพ และความต้องการทีอยูและการสัตวบาลก่อนการมอบอำ�นาจการขนส่ง ่ ่ ่ สัตว์ การกระทำ�เช่นนี้จะทำ�ให้มั่นใจว่าการได้ปฏิบัติการกักกันสัตว์ที่เข้ามาอย่างมีประสิทธิภาพ และสนอง ความต้องการพิเศษใดๆ ทีจ�เป็นเพือให้มนใจว่าสัตว์มความเป็นอยูทด(ี Otto and Tolwani 2002)
From page 110...
... การดูแลทางการสัตวแพทย์ 109 อันตรายต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์และไม่อาจทำ�ได้ยกเว้นมีวิธีการขนส่งที่ให้ความร้อนหรือความเย็น (Robertshaw 2004; Schrama et al.
From page 111...
... 110 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ที่ครอบคลุมซึ่งอาจมีการประเมินสถานะสุขภาพของสัตว์ในธรรมชาติ วิธีดำ�เนินการเพื่อให้แน่ใจว่าชีววัตถุ ทังหมดทีให้แก่สตว์ปลอดจากการปนเปือน และวิธด�เนินการเพือการขนส่งสัตว์ทงภายในและภายนอกอาคาร ้ ่ ั ้ ี ำ ่ ั้ (เช่น การเคลือนย้ายสัตว์ไปยังห้องปฏิบตการ และสถานทีอนๆ นอกอาคารสัตว์อาจท้าทายต่อชีวนิรภัยสำ�หรับ ่ ั ิ ่ ื่ สัตว์) (Balaban and Hampshire 2001)
From page 112...
... หน่วยที่มีการไหลของ อากาศผ่านแผ่นกรอง (Laminar flow units) กรงที่มีอากาศผ่านการกรอง หรือแยกการระบายอากาศ และไอ โซเลเตอร์ (isolators ระบบการให้สัตว์อาศัยอยู่มีระบบแยกการระบายอากาศ)
From page 113...
... โรคไวรัสตับอักเสบในหนูเมาส์ โรคเหงือกอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย ในปลาเรนโบว์เทราท์ โรคติดเชื้อ Pasteurella multocida ในกระต่าย เชื้อ Macacine herpesvirus 1 (B virus) ในลิงมาแคค และโรค Mycoplasma hyopneumoniae ในสุกร การเฝ้าระวัง การวินิจฉัย การรักษา และ การควบคุมโรค ควรสังเกตสัตว์ทุกตัวโดยเจ้าหน้าที่ผู้ได้รับการฝึกอบรมให้รู้จักอาการนั้นๆ เพื่อดูอาการ การเจ็บป่วย การบาดเจ็บหรือการมีพฤติกรรมผิดปกติ ตามกฎการสังเกตอาการควรทำ�อย่างน้อยทุกๆวัน แต่อาจจัดการ สังเกตบ่อยกว่านีตามเหตุอนสมควร เช่น ในช่วงระยะเวลาหลังการผ่าตัด เมือสัตว์เจ็บป่วยหรือมีความบกพร่อง ้ ั ่ ทางกายภาพ หรือเมื่อสัตว์มีอาการใกล้จุดสิ้นสุดการทดลอง ควรใช้การตัดสินใจโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อแน่ใจว่า ความถี่และวิธีการสังเกตอาการช่วยลดความเสี่ยงของสัตว์แต่ละตัวและไม่มีผลกระทบต่อการวิจัยซึ่งใช้สัตว์ มีวิธีการเฝ้าระวังและการวินิจฉัยโรคที่เหมาะสม ควรรายงานอย่างทันทีเมื่อพบการตายแบบกระทัน หันและอาการเจ็บป่วย ความทรมาน หรือความผิดปกติของสัตว์และตรวจสอบตามความจำ�เป็นเพื่อให้แน่ใจ ว่ามีการดูแลทางสัตวแพทย์อย่างเหมาะสมและทันเวลา ควรแยกขังสัตว์ทแสดงอาการของโรคติดต่อออกจาก ี่ สัตว์ที่มีสุขภาพดี หากพบหรือคาดว่าสัตว์ทั้งห้องสัมผัสเชื้อโรคติดต่อ (เช่น เชื้อวัณโรคในลิง)
From page 114...
... เชื้อไวรัสตับอักเสบใน หนูเมาส์ (mouse hepatitis virus) เชื้อลิมโพซิติกโคริโอเมนิงไจติส (Lymphocytic choriomenigitis virus)
From page 116...
... การดูแลทางการสัตวแพทย์ 115 เกี่ยวข้องกับการริเริ่ม การทบทวน และการตรวจสอบเวชระเบียนและบันทึกการใช้สัตว์ (Field et al. 2007; Sucknow and Doerning 2007)
From page 117...
... 116 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง จัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับการศัลยกรรมโดยทั่วไปตลอดจนการฝึกอบรมสำ�หรับเทคนิคเฉพาะต่างๆ ซึ่งคาด การณ์ว่าจะทำ� (Stevens and Dey 2007)
From page 118...
... การดูแลทางการสัตวแพทย์ 117 กลับสู่ระดับทางสุขาภิบาลอย่างเหมาะสมก่อนใช้เป็นห้องสำ�หรับการผ่าตัดใหญ่แบบรอดชีวิต โดยทั่วไปปศุสัตว์ที่ถูกเลี้ยงเพื่อการวิจัยทางชีวการแพทย์ควรได้รับการทำ�ศัลยกรรมด้วยเทคนิคต่างๆ และในสถานที่ซึ่งสอดคล้องกับบรรทัดฐานดังได้ระบุไว้ในบทนี้ อย่างไรก็ดี วิธีดำ�เนินการเล็กน้อยและฉุกเฉิน บางอย่างที่มักปฏิบัติเสมอในการบำ�บัดโรคสัตว์ตามคลินิกและในสภาพปศุสัตว์เพื่อการค้า อาจปฏิบัติภายใต้ ภาวะภาคสนาม ถึงแม้วาถูกปฏิบตภายใต้สภาพการเกษตร อย่างไรก็ดี การดำ�เนินการต่างๆ จำ�เป็นต้องมีการ ่ ั ิ ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ ยาระงับประสาท ยาระงับปวด ยาสลบอย่างเหมาะสมและสภาวะต่างๆ ที่ชดเชยความ เสี่ยงต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ วิธีดำ�เนินการศัลยกรรม ในสภาพห้องปฏิบัติการ วิธีการศัลยกรรมแบ่งตามประเภทออกเป็นศัลยกรรมใหญ่หรือเล็ก และแบ่ง ย่อยเป็นแบบรอดชีวตและไม่รอดชีวต โดยทัวไปการผ่าตัดใหญ่แบบรอดชีวต (เช่น การผ่าช่องท้อง การผ่าช่อง ิ ิ ่ ิ อก การเปลี่ยนข้อต่อและการตัดแขนขา) ผ่าทะลุและเปิดช่องว่างในร่างกาย หรือทำ�ให้เกิดความผิดปกติต่อ หน้าที่ทางกายภาพและสรีระตามมาในที่สุด หรือเกี่ยวข้องกับการผ่าชำ�แหละหรือตัดเนื้อเยื่อออกอย่างมาก (Brown et al.
From page 119...
... 118 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ในสภาวะฉุกเฉินต่างๆ บางครั้งต้องมีการทำ�ศัลยกรรมเพื่อแก้ไขโดยทันทีทันใดภายใต้สภาวะที่ต่ำ� กว่าสภาวะสมบูรณ์แบบ เช่น ถ้าสัตว์ตัวหนึ่งที่เลี้ยงอยู่กลางแจ้งจำ�เป็นต้องได้รับการผ่าตัด การเคลื่อนย้าย สัตว์เข้าสู่ห้องผ่าตัดสัตว์อาจไม่สะดวก หรืออาจเสี่ยงภัยต่อสัตว์ สภาวะดังกล่าวเหล่านี้มักต้องให้มีการดูแล หลังผ่าตัดอย่างเข้มงวดกว่า และอาจเสียงต่อภาวะแทรกซ้อนต่างๆ หลังการทำ�ศัลยกรรมมากกว่า การดำ�เนิน ่ การตามกระบวนการอย่างเหมาะสมต้องการสัตวแพทย์เป็นผู้ตัดสินใจ ในการทำ�ศัลยกรรมแบบไม่รอดชีวต สัตว์ถกทำ�การุณยฆาตก่อนฟืนจากสลบ อาจไม่จำ�เป็นต้องปฏิบติ ิ ู ้ ั ตามเทคนิคทุกอย่างที่กำ�หนดไว้ในบทนี้ถ้าทำ�ศัลยกรรมแบบไม่รอดชีวิต แต่อย่างน้อยที่สุดบริเวณที่ทำ�การ ผ่าตัดควรได้รับการตัดขน ศัลยแพทย์ควรสวมถุงมือและเครื่องมือต่างๆ รวมทั้งบริเวณโดยรอบควรสะอาด (Slattum et al.
From page 120...
... การดูแลทางการสัตวแพทย์ 119 และการทำ�ให้ปลอดเชื้อโรคด้วยพลาสม่าและก๊าซเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่มักใช้บ่อยเพื่อทำ�ให้เครื่องมือ และวัสดุต่างๆ ปลอดเชื้อโรค วิธีทางเลือกต่างๆ ซึ่งถูกใช้ส่วนใหญ่ในการทำ�ศัลยกรรมสัตว์ฟันแทะ ได้แก่ สารเคมีชนิดน้ำ�สำ�หรับทำ�ให้ปลอดเชื้อโรคและการทำ�ให้ปลอดเชื้อโรคด้วยความร้อนแห้ง ควรใช้สารเคมี ชนิดน้ำ�สำ�หรับทำ�ให้ปลอดเชื้อโรคโดยให้สัมผัสด้วยเวลาพอเพียง และควรนำ�อุปกรณ์มาชะล้างด้วยน้ำ�กลั่น หรือน้�เกลือทีผานการฆ่าเชือแล้วก่อนนำ�ไปใช้ เครืองทำ�ให้ปลอดเชือโรคทีมเม็ดลูกแก้วหรือใช้ความร้อนแห้ง ำ ่ ่ ้ ่ ้ ่ ี เป็นวิธีที่สะดวก และมีประสิทธิภาพสำ�หรับการทำ�ให้ผิวหน้าที่ใช้งานของเครื่องมือผ่าตัดปลอดเชื้อได้อย่าง รวดเร็ว แต่ควรดูแลเพื่อให้มั่นใจว่าผิวหน้าของเครื่องมือนั้นได้เย็นลงอย่างพอเพียงก่อนสัมผัสเนื้อเยื่อสัตว์ เพื่อลดความเสี่ยงของการไหม้ให้มีน้อยที่สุด แอลกอฮอล์ไม่ได้เป็นสารเคมีที่ทำ�ให้ปลอดเชื้อโรคและไม่เป็น น้ำ�ยาฆ่าเชื้อระดับสูง (Rutala1990) แต่อาจยอมรับได้สำ�หรับการปฏิบัติบางอย่างถ้าใช้โดยให้สัมผัสด้วย เวลาเพียงพอ (Huerkamp 2002)
From page 121...
... 120 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ฉีดเข้าร่างกายทางหลอดเลือด ยาระงับปวดและยาอื่นๆ ตลอดจนการดูแลแผลผ่าตัด ควรเก็บรักษาประวัติ การแพทย์อย่างเหมาะสม การควบคุมหลังการฟื้นจากสลบ มักมีความเคร่งครัดน้อยกว่าระหว่างผ่าตัด แต่ควรมีความใส่ใจ ต่อหน้าที่ทางชีวภาพพื้นฐานของการกินและการขับของเสีย และต่ออาการทางพฤติกรรมของความเจ็บปวด หลังการผ่าตัด การควบคุมการติดเชื้อหลังการผ่าตัด การตรวจดูแผลผ่าตัดว่ามีการแยกออกหรือไม่ มีการ พันแผลตามความจำ�เป็นและการตัดไหม ตัวหนีบหรือลวดเย็บแผลออกตามเวลา (UFAW 1989) ความเจ็บปวดและทรมาน ส่วนประกอบที่ครบถ้วนของการดูแลทางสัตวแพทย์คือการป้องกัน หรือการบรรเทาความเจ็บปวดที่ เกียวข้องกับการปฏิบตและการศัลยกรรมในการวิจย ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ซบซ้อนทีมกเป็นผลจาก ่ ั ิ ั ั ่ ั สิ่งกระตุ้นซึ่งทำ�ให้เนื้อเยื่อบาดเจ็บหรือมีโอกาสเสียหาย สิ่งกระตุ้นดังกล่าวกระตุ้นการตอบสนองทันทีด้วย ปฏิกรยาดึงกลับและหลบหลีก ประสบการณ์และความสามารถในการตอบสนองต่อความเจ็บปวดมีอย่างแพร่ ิิ หลายในอาณาจักรสัตว์และขยายออกไปนอกเหนือจากสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Sherwin 2001)
From page 123...
... 122 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง โดยให้ยาทางการกินหรือการฉีด ตลอดจนการสกัดกันการส่งสัญญานการบาดเจ็บด้วยการให้ยาสลบเฉพาะที่ ้ (เช่น ยาบูพิวาเคนbupivacaine) การบรรเทาความเจ็บปวดเรื้อรังอาจเป็นการท้าทายมากกว่าความเจ็บปวดหลังการปฏิบัติ แผ่นปิด ผิวหนังที่มีขายทางการค้าซึ่งมียาฝิ่นปล่อยออกมาช้าๆ หรือยาแก้ปวดที่มีเครื่องปั๊มยาไหลผ่านเยื่อขนาดจิ๋ว ชนิดฝังใต้ผวหนังอาจมีประโยชน์ส�หรับการบรรเทาปวด เพราะการตอบสนองต่อยาแก้ปวดทีแตกต่างเฉพาะ ิ ำ ่ ตัวอย่างกว้างขวางโดยไม่เกียวข้องกับแผนการบรรเทาปวดเบืองต้น สัตว์ควรได้รบการสังเกตุอาการอย่างใกล้ ่ ้ ั ชิดระหว่างหรือหลังจากการปฏิบัติที่เจ็บปวด และควรได้รับยาเพิ่มเติมอีกตามความจำ�เป็น เพื่อให้แน่ใจว่ามี การจัดการแก้ปวดอย่างเหมาะสม (karas et al.
From page 124...
... เพราะว่าการเป็นอัมพาตบดบังอาการและการปฏิกิริยาการ ตอบสนองต่างๆ ทีถกใช้เพือประเมินความลึกของการสลบ การเปลียนแปลงระบบประสาทอัตโนมัติ (เช่น การ ู่ ่ ่ เปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจและความดันเลือดอย่างฉับพลัน) สามารถเป็นตัวบ่งชี้ความเจ็บปวดที่ เกียวกับความลึกของการสลบไม่พอเพียง จึงเป็นการบังคับว่าการใช้สารขัดขวางระบบประสาทกล้ามเนือต้อง ่ ้ ถูกประเมินอย่างรอบคอบโดยสัตวแพทย์และIACUC เพือให้ยนยันความเป็นอยูทดของสัตว์ มีความเชือว่าเกิด ่ ื ่ ี่ ี ่ ความเครียดอย่างฉับพลันตามหลังอัมพาตขณะสัตว์ยงรูสกตัวอยู่ และทราบดีวาเกิดขึนมนุษย์ทรสกตัวสามารถ ั ้ึ ่ ้ ี่ ู้ ึ ผจญความทรมานถ้าถูกทำ�ให้เป็นอัมพาตด้วยยาเหล่านี้ (NRC 2008; Van Sluyters and Oberdorfer 1991)
From page 125...
... ILAR J 48:90-95. ACLAM [American College of Laboratory Animal Medicine]
From page 126...
... In: Bennett BT, Brown MJ, Schofield JC, eds. Essentials for Animal Research: A Primer for Research Personnel.
From page 127...
... 39:137-161. Conour LA, Murray KA, Brown MJ.
From page 128...
... Hedenqvist P, Roughan JV, Flecknell PA.
From page 129...
... In: Kohn DF, Wixson SK, White WJ, Benson GJ, eds. Anesthesia and Analgesia in Laboratory Animals.
From page 130...
... Contemp Top Lab Anim Sci 41:20-27. Paul-Murphy J, Ludders JW, Robertson SA, Gaynor JS, Hellyer PW, Wong PL.
From page 131...
... In: Bennett BT, Brown MJ, Schofield JC, eds. Essentials for Animal Research: A Primer for Research Personnel.
From page 132...
... In: Guidelines on the Care of Laboratory Animals and Their Use for Scientific Purposes III. London.


This material may be derived from roughly machine-read images, and so is provided only to facilitate research.
More information on Chapter Skim is available.